กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ รหัส กปท. L4114

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาวะเด็กนอกระบบในพื้นที่ตำบลสะเอะ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สภาเด็กและเยาวชนตำบลสะเอะ
กลุ่มคน
1.นายอับดุลฮาฟีสหะมิมะดิง
2.นายอับดุลเราะห์มานเทษา
3.นางสาวฟาฮาดา ลัสสะมานอ
4.นางสาวสากีนาดีสุมะ
5.นายนาร์ดินเทษา
3.
หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลสถานการณ์เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาจากการสำรวจของ กสศ. ร่วมกับหน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องในเดือนกันยายน 2562 พบว่า มีเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาที่มีอายุระหว่าง 2-21 ปี เฉพาะใน 20 จังหวัด จำนวน 867,242คน แบ่งเป็น เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 2-6 ปี จำนวน 242,002 คน ช่วงอายุ 7-17 ปี จำนวน 177,383 คน และอายุระหว่าง 18-21 ปี จำนวน 447,846 คน โดยในพื้นที่จังหวัดยะลามีเด็กและเยาวชนนอกระบบจำนวน 34,991 คน
สาเหตุการหลุดออกจากระบบมีหลากหลาย สาเหตุแรก ๆ คือความยากจน (จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความยากจนสูงเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่น ๆ ของประเทศ) ต้องช่วยครอบครัวไม่สะดวกในการเดินทางเพราะบ้านอยู่ไกลโรงเรียน ต้องย้ายบ้านบ่อย ติดเพื่อนหรือ ติดยาเสพติด ตั้งครรภ์และตั้งครอบครัวเรียนไม่รู้เรื่อง หลายคนออกจากโรงเรียนแล้วการอ่านเขียนยังใช้ไม่ได้ โดยสาเหตุส่วนหนึ่งคือไม่คุ้นกับภาษาไทยที่เป็นสื่อการเรียนการสอนด้วยภาษาแม่คือภาษามลายูถิ่น ฯลฯ สรุปได้ว่าแม้รัฐจะ “บังคับ” ให้เรียน และมีแรงจูงใจ เช่น อาหารกลางวันฟรี ก็ตามทีแต่ความไม่สะดวก ความเบื่อหน่าย และสภาพเศรษฐกิจของครอบครัว เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กและเยาวชนถอนตัวออกจากระบบ จากการสอบถามเบื้องต้นถึงความต้องการของเด็กนอกระบบการศึกษา พบว่ามีความต้องการในด้านทุนการศึกษา การฝึกอาชีพ การอุปถัมภ์ดูแลครอบครัว การช่วยเหลือด้านกฎหมาย การให้การคุ้มครองสิทธิต่างๆ การส่งบำบัดรักษา การย้ายไปยังพื้นที่นอกจังหวัดชายแดนภาคใต้ จากข้อมูลการสำรวจสถานการณ์เด็กนอกระบบจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา กสศ.ร่วมกับห้องเรียนกัมและสภาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ตำบลสะเอะ จำนวน 109 คน พบว่าสาเหตุสำคัญร้อยละ 52.29 เกิดจากความยากจน 19.26 ถูกผลักออกจากนอกระบบ 14.67 ปัญหาครอบครัว 7.33 ไม่ได้รับสวัสดิการ ร้อยละ 4.58 ปัญหาสุขภาพมีความต้องการสนับสนุนทักษะทางสังคม ด้านการป้องกันปัญหายาเสพติดร้อยละ 45.87 ทักษะการจัดการอารมณ์ร้อยละ 4.36ทักษะสุขภาพทางเพศ 1.83 เด็กและเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษา บางคนจะว่างงานใช้เวลากับการเล่นเกมส์ บางคนเข้าสู่แรงงานนอกระบบ เช่นแรงงานก่อสร้างแรงงานเกษตร ซึ่งจะมีเป็นช่วงๆ เด็กและเยาวชนขาดความรู้ในสุขลักษณะในการดูแลตนเอง การขาดความรู้ในช่วงเหตุวิกฤติสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด รวมถึงปัจจัยอื่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะดำเนินโครงการกิจกรรมนี้เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาวะของเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2.เพื่อลดภาวะความเครียดและรู้จักการจัดการทางอารมณ์
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 15.00
  • 3. 3.เพิ่มพื้นที่การเรียนรู้ด้านสุขภาวะของเด็กและเยาวชนนอกระบบ
    ตัวชี้วัด : มีศูนย์เรียนรู้
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1.กิจกรรมการประชุมวางแผนการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    ประชุมวางแผนการดำเนินงาน -ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ * 10 คนๆละ 35บาทเป็นเงิน 350 บาท -ค่าอาหารเที่ยง 1 มื้อ * 10 คนๆละ 70บาทเป็นเงิน 700 บาท

    งบประมาณ 1,050.00 บาท
  • 2. 2.กิจกรรมฝึกอบรมการดูแลสุขภาพและการจัดการอารมณ์
    รายละเอียด

    1.ฝึกอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การจัดการอารมณ์(ความเครียด) 2.คัดกรองสุขภาพจิตด้วย PHQ 3.ประเมินสุขภาพ - ค่าอาหาร1มื่้อๆละ 25 คนๆละ 70 บาทเป็นเงิน1,750บาท - ค่าอาหารว่าง 2มื้อๆละ 25 คนๆละ 35 บาท เป็นเงิน1,750บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,000บาท

    งบประมาณ 6,500.00 บาท
  • 3. 3.กิจกรรมทุุกมื้อให้ผักนำ เราทำได้
    รายละเอียด

    1.ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารโดยให้มีผักนำ - ค่าอาหาร1มื่้อๆละ 25 คนๆละ 70 บาทเป็นเงิน1,750บาท - ค่าอาหารว่าง 2มื้อๆละ 25 คนๆละ 35 บาท เป็นเงิน1,750บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน1,800บาท 2.กิจกรรมถั่วงอกคอนโด - ค่าวัสดุอุปกรณ์เพาะถั่วงอก1,000บาท

    งบประมาณ 6,300.00 บาท
  • 4. 4.กิจกรรมรู้รอด ปลอดโควิด-19
    รายละเอียด

    กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโควิด-19 ที่ถูกต้อง กิจกรรมทำสเปรย์แอลกอฮอล์ กิจกรรมแจกหน้ากากอนามัยเจลแอลกอฮอล์   - ค่าอาหาร      1  มื่้อๆละ 25 คนๆละ 70 บาท    เป็นเงิน  1,750  บาท   - ค่าวัสดุ/สื่อรณรงค์  2,400 บาท

    งบประมาณ 4,150.00 บาท
  • 5. 5.กิจกรรมสื่อเรียนรู้
    รายละเอียด

    จัดทำสื่อเรียนรู้ภายในศูนย์   - ค่าวัสดุ/อุปกรณ์/เครื่องเขียนในการทำสื่อการเรียนรู้ 2,000  บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลสะเอะอำเภอกรงปินังจังหวัดยะลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 20,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาและกลุ่มแรงงานเยาวชนนอกระบบได้รับการดูแล 2.สามารถบรรเทาปัญหาภาวะความเครียดและการใช้เวลาอย่างมีคุณค่า 3.มีสุขลักษณะและสุขภาพจิตที่ดี

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ รหัส กปท. L4114

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2564
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ รหัส กปท. L4114

อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 20,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................