กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

นายยะยา เลาะดีเยาะ
นางผกาวรรณ ไชยเต็มปล้อง
นางสาวรอบีย๊ะ เง๊าะหมะ
นางแมะ ขะเดมิน
นายชัยธร สาและสา

ตำบลเปียน จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้แจ้งสถานการณ์ทั่วโลกข้อมูลตั้งแต่ 5 มกราคม 2563 จนถึงปัจจุบัน จากรายงานของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (ศบค.) วันที่ 1 มิถุนายน 2564 มึผู้ป่วยยืนยันสะสมทั้งประเทศ 133,159 ราย ผู้ป่วยสะสมตั้งแต่ปี 2563 จำนวน 162,022 ราย เสียชีวิตสะสม 975 ราย ผู้ป่วยรายใหม่วันนที่ 2,230 ราย ซึ่งการรายงานของรายงานสถานการณ์ผู้ติดเชื้อโควิค-19 ของอำเภอสะบ้าย้อย มีผู้ป่วยสะสม 17 ราย กำลังรักษาในโรงพยาบาลสะบ้าย้อย จำนวน 11 ราย และกลับบ้าน 6 ราย ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องมีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบและผู้มารับบริการที่รพ.สต.เปียน ด้วยเหตุดังกล่าวอสม.รพ.สต.เปียน ที่ได้รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข จึงต้องมีการมาตรการแก้ไขสถานการณ์โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ให้ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้าง ซึ่งการแพร่ระบาดของโรคเริ่มมีการกระจายเป็นวงกว้างและเกิดการควบคุมยากขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำบลเปียน

 

0.00
2 เพื่อให้มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและ ควบคุมโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

0.00
3 เพื่อให้ผู้รับบริการในสถานพยาบาลได้รับความปลอดภัยจากโรคติตต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่และสนับสนุนการดำนเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์ อบรม ให้ความรู้กับประชาชนในพื้นที่และสนับสนุนการดำนเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

โดยจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ เช่น ชุดป้องกันตนเอง PPE แว่นตานิรภัย หน้ากาก N95 ฯลฯ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ 1.1 ชุด PPE จำนวน 300 ชุด x 280 บาท = 84,000 บาท 1.2 หมวกคลุมผมทางการแพทย์ จำนวน 300 ชุด x 3 บาท = 900 บาท 1.3 หน้ากากอนามัย N95 จำนวน 300 ชุด x 10 บาท = 3,000 บาท 1.4 ถุงมือเบอร์ S จำนวน 10 กล่อง  x 250 บาท = 2,500 บาท 1.5 ถุงมือเบอร์ M จำนวน 10 กล่อง  x 250 บาท = 2,500 บาท 1.6 ถุงมือเบอร์ L จำนวน 10 กล่อง  x 250 บาท = 2,500 บาท 1.7 เสื้อฝน  จำนวน 300 ชุด  x 25 บาท = 7,500 บาท 1.8 เจลแอลกอฮอล์ ขนาด 500 มล. จำนวน 50 ขวด  x 75 บาท = 3,750 บาท 1.9 ถุงดำ 24 x 28 นิ้ว 20 ใบ จำนวน 10 ห่อ  x 50 บาท = 500 บาท 1.10 ถุงดำ 24 x 28 นิ้ว 30 ใบ จำนวน 10 ห่อ  x 120 บาท = 1,200 บาท 1.11 ถุงเท้าพลาสติก  จำนวน 300 คู่  x 25 บาท = 7,500 บาท 1.12 รองเท้าบูท จำนวน 20 คู่  x 250 บาท = 5,000 บาท 1.13 สติ๊กเกอร์ ตรวจแล้ว จำนวน 10,000 ดวง  x 1.5 บาท = 15,000 บาท 1.14 ตะกร้าสี่เหลี่ยมพลาสติกที่มีที่หิ้ว จำนวน 10 ใบ  x 150 บาท = 1,500 บาท 1.15 ขวดเติมใส่หัวฉีดสเปรย์ ขนาด 500 ซีซี (ฟอกกี้) จำนวน 20 ใบ x 55 บาท = 1,100 บาท 1.16 ปรอทวัดไข้ แบบเลเซอร์ พร้อมถ่าน จำนวน 10 อัน  x 1,500 บาท = 15,000 บาท 1.17 ซองพลาสติกใส่เอกสาร จำนวน 100 ซอง  x 6 บาท = 600 บาท 1.18 เอี๊ยม พลาสติก แบบใช้ครั้งเดียว จำนวน 300 ตัว  x 35 บาท = 10,500 บาท 1.19 เฟสชิว จำนวน 200 อัน  x 80 บาท = 16,000 บาท 1.20 เครื่องฉีดพ่นสะพายหลัง ขนาด 16 ลิตร จำนวน 3 ตัว  x 1,200 บาท = 3,600 บาท 1.21 ปรอทวัดไข้ แบบดิจิตอล จำนวน 50 ตัว  x 180 บาท = 9,000 บาท 1.22 แมส ทางการแพทย์ จำนวน 500 ชิ้น  x 3 บาท = 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
194600.00

กิจกรรมที่ 2 เพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ในการป้องกันแก่ผู้มารับบริการให้กับ รพ.สต.เปียน

ชื่อกิจกรรม
เพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ในการป้องกันแก่ผู้มารับบริการให้กับ รพ.สต.เปียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 อุโมงค์ฆ่าเชื้อ จำนวน 1 หลัง x 13,000 บาท = 13,000 บาท 2.2  น้ำยาฆ่าเชื้อ Nano 9 Silver ขนาดบรรจุ 1 ลิตร จำนวน 48 ขวด x 650 บาท = 31,200

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
44200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 238,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
2.ประชาชนในพื้นที่ตำบลเปียนได้รับการป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
3.ผู้มารับบริการที่รพ.สต.เปียนได้รับความปลอดภัยจากการเข้ารับบริการ
4.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ


>