กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุน ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น ได้กำหนดลักษณะกิจกรรมที่จะของงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนได้เป็น 5 ประเภท ได้แก่ กิจกรรมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ ,กิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของ
กลุ่มหรือองค์ประชาชนในพื้นที่,กิจกรรมด้านการสาธารสุขในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สุงอายุและคนพิการลกิจกรรมการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่และกิจกรรมบริหารจัดการกองทุนฯ ให้มีประสิทธิภาพ โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ได้รับการสนับสนุนงบประมาณเพื่่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการ่บริการหรือพัฒนากองทุนโดยตลอดตั้งแต่เริ่มดำเนินการ เพื่อให้การดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินการไปอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนขึ้นเพื่อนำงบประมาณที่ได้รับมาบริหารจัดการกองทุน จัดเตรียมวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในการดำเนินงานของกองทุนฯต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินงานกองทุนๆ

การจัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง

10.00 10.00
2 2. เพื่พัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ

ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการและคณะทำงานกองทุนฯได้เข้าร่วมประชุม อบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพ จากหน่วยงานภายนอก อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

8.00
3 3. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกองทุนฯ ตามระเบียบของกองทุนฯ

มีข้อมูลเชิงคุณภาพสามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานในปีต่อไปตามกระบวนการ PDCA

10.00

1.เพื่อติดตามความคืบหน้าของการดำเนินกองทุนฯ ตัวชึ้วัดความสำเร็จ : ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการและคณะทำงานกองทุนฯ ได้เข้าร่วมประชุม/อบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพ จากหน่วยงานภายนอก อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : การจัดประชุมคณะกรรมการกองทุน ฯ อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง
3. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกองทุน ฯ ตามระเบียบของกองทุน ฯ ตัวชี้วัดความสำเร็จ :มีข้อมุลเชิงคุณภาพสามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานในปีต่อไปตามกระบวนการ PDCA
4. เพื่อจัดทำแผนงานโครงการและพัฒนาทักษะของเครือข่ายในการจัดทำแผนงานโครงการที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ :

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการบริหารจัดการกองทุน ปี 2565 การจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด/การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ

ชื่อกิจกรรม
โครงการบริหารจัดการกองทุน ปี 2565 การจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด/การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นตอนวางแผน

  • ร่วมประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน

  • กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ

  1. ขั้นตอนการดำเนินงาน

    • ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย
    • จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน ตามระเบียบของหน่วยงานโดยอนุโลม -จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการคณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน
    • จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม
  2. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด

    • จัดประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี
    • จัดประชุมคณะกรรมการ LTC อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
    • จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี
    • สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน
  3. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียรู้ระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลอื่น ๆ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
48630.00

กิจกรรมที่ 2 โครงการบริหารจัดการกองทุน ปี 2564 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
โครงการบริหารจัดการกองทุน ปี 2564 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าจัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2022
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 73,630.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุน หรือหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด


>