กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารี

หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านทุ่งนารี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลังจากได้มีพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4)พ.ศ. 2562มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลเพื่อกำหนดมาตรการควบคุมวัตถุอันตรายให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นมีผลให้ให้การใช้สารเคมีที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกร ได้แก่สารเคมีจำพวกยาฆ่าแมลง ให้รัดกุมยิ่งขึ้น และมีบทกำหนดโทษสำหรับผู้ที่ฝ่าฝืนมีผลให้เกษตรกร หรือผู้ที่ใช้สารเคมีเหล่านี้ มีความตระหนัก ระมัดระวัง ในระดับหนึ่งสำหรับในพื้นที่ชนบท การปฏิบัติตามข้อกำหนดดังกล่าวยังมีการละเลยอยู่บ้างทำให้ความปลอดภัยของผู้ใช้สารเคมี และผู้บริโภคยังต้องมีการเฝ้าระวังกันเหมือนเดิม การตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกรและผู้บริโภค ยังมีความจำเป็นเพราะนอกจากเป็นการเฝ้าระวังเรื่องสารพิษตกค้างที่อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพประชนชนแล้วยังเป็นการเปรียบเทียบถึงการรับรู้ และการปฏิบัติหลังจากที่มีพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 4)พ.ศ. 2562ออกมาใช้ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งนารีจึงมีความจำเป็นจัดทำโครงการตรวจหาสารพิษตกค้างในเกษตรกรเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ปัญหาสารเคมีตกค้างของเกษตรกรและผู้บริโภค ในปี 2565

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรู้ว่าตัวเองมีสารตกค้างในเลือดในระดับใด

เกษตรกรทุกคนทราบระดับของสารพิษตกค้างของตนเอง

1.00
2 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช.

เกษตรกรทุกคน มีความรู้และตระหนักถึงอันตรายในการใช้สารเคมีปราบตรูพืช ในระดับดี ถึงดีมาก

1.00
3 เพื่อให้เกษตรกรได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใช้สารเคมีและมาใช้สารอินทรีย์ให้ มากขึ้น

เกษตรกรอย่างน้อยร้อยละ 80  ลดการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชและหันมาใช้สารอินทรีย์

1.00
4 การส่งต่อ กรณีพบสารพิษตกค้างในระดับอันตราย

จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งต่อหรือยอมรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/12/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ตรวจหาสารเคมีตกค้างในเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดซื้อกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส บรรจุ 100 ชิ้น/กล่อง ๆ ละ 1,300  บาท x   8 กล่อง รวมเงิน  10,400 บาท 2.เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว บรรจุ 200 ชิ้น/กล่อง ราคากล่อง 900 บาทx  4 กล่อง   รวมเงิน  3,600  บาท 3. Hematocrit tube บรรจุ  100  ชิ้น / กล่อง ๆ  ละ  125 บาท x  8   กล่อง  รวมเงิน  1,000  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดทำแผนตรวจหาสารพิษตกค้างในระดับหมู่บ้าน แปรผลการตรวจ และแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายทราบ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแผนตรวจหาสารพิษตกค้างในระดับหมู่บ้าน แปรผลการตรวจ และแจ้งให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ให้ความรู้ และส่งต่อกรณีผู้มีสารพิษตกค้างระดับอันตราย

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้ และส่งต่อกรณีผู้มีสารพิษตกค้างระดับอันตราย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1เกษตรกรและประชาชนทั่วได้รับการตรวจเลือด และรู้ผลมีสารเคมีตกค้างอยู่ในระดับใด
2เกษตรกรมีความรู้และเข้าใจอันตรายจากการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช.
3เกษตรกรมีความรู้ในการป้องกันตัวเองหากมีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช


>