แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง รหัส กปท. L8415
อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
สถานการณ์โรคโควิด-19 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2565 ทั่วโลก 220 ประเทศ พบผู้ป่วยยืนยัน 281,822,609 รายเสียชีวิต 5,422,564 ราย ประเทศไทย พบผู้ป่วยยืนยัน 2,214,712 ราย เสียชีวิต 21,630 ราย จำนวนผู้ป่วยโควิดของจังหวัดพัทลุงอยู่ในลำดับที่ 9 ของประเทศ พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 13,457 ราย เสียชีวิต 120 ราย ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านจันนา พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 47 ราย เสียชีวิต 0 ราย หมู่ที่ 11 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 13 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 3 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 9 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 8 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 8 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 8 ตำบลชะมวง พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 8 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 4 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 7 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 7 ตำบลชะมวง พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 2 ราย เสียชีวิต 0 ราย นายแพทย์ แอนโทนี เพาซี แพทย์ใหญ่ประจำคณะทำงานด้านการควบคุมโรคโควิด 2019 ของทำเนียบขาว เปิดเผยว่า ยอดติดเชื้อโควิด-19 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอนที่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วทั่วโลก “ยอดติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ค่าเฉลี่ยของสัปดาห์ที่แล้วอยู่ที่ 150,000 ราย และน่าจะเพิ่มขึ้นสูงกว่านั้นมาก วิธีป้องกันโรคโควิด-19 ที่ดีที่สุดคือการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น (เข็ม 3) ประกอบกับองค์การอนามัยจะประกาศโรคโควิด-19 เป็นโรคประจำถิ่น ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2565 แต่มีเงื่อนไขข้อหนึ่งระบุว่า ประชาชนในประเทศไทยต้องได้รับการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น อย่างน้อยร้อยละ 60 จึงจะก่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ และผ่านหลักเกณฑ์ดังกล่าว โดยเป้าหมาย 608 ของอำเภอควนขนุนเท่ากับ 22,569 ราย ฉีดเข็มกระตุ้นแล้ว 7,112 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.51 (ข้อมูลจาก สสจ.พัทลุง เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2565) จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว รพ.สต.บ้านจันนา เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ในพื้นที่เขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านจันนา ทั้ง 2 หมู่บ้าน ไม่ให้แพร่ระบาด จึงได้เขียนโครงการฯ เพื่อของบกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชะมวง ในการดำเนินการรณรงค์กระตุ้นการฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็ม 3 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19
-
1. เพื่อสร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิดเข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมาย 608 มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 2. กลุ่มเป้าหมาย 608 ฉีดวัคซีนเข้มกระตุ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 3. อัตราการป่วยด้วยโรคโควิดในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50 4. อัตราการตายด้วยโรคโควิดในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 50.00
- 1. อบรมการเก็บข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”รายละเอียด
อบรมการเก็บข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” แก่ อสม. 2 หมู่บ้าน ตำบลชะมวง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.จันนา จำนวน 23 คน
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเป้าหมายและผู้จัดจำนวน 25 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน กลุ่มเป้าหมายและผู้จัดจำนวน 25 คน x 1 มื้อ x 70 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม. x 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
4.ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 800 แผ่น ๆ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 400 บาทงบประมาณ 7,000.00 บาท - 2. เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลก่อนทำกิจกรรมสัมภาษณ์)รายละเอียด
เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลก่อนทำกิจกรรมัมภาษณ์)
1. ค่าตอบแทนพนักงาน เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 จำนวน 200 คน x 1 ครั้ง x 20 บาท เป็นเงิน 4,000 บาทงบประมาณ 4,000.00 บาท - 3. สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจรายละเอียด
สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” โดย อสม.
ค่าใช้จ่ายดังนี้
1.ค่าตอบแทนพนักงาน สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” จำนวน 200 คน x 1 ครั้ง x 50 บาท เป็นเงิน 10000 บาท
2.ค่าอุปกรณ์ตัวอย่างสำหรับการป้องกันโควิด (แมส+เจลแอลกอฮอล์) จำนวน 200 คน x 1 ชุด x 80 บาท เป็นเงิน 16000 บาทงบประมาณ 26,000.00 บาท - 4. เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลหลังทำกิจกรรมสัมภาษณ์)รายละเอียด
เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลหลังทำกิจกรรมสัมภาษณ์)
1. ค่าตอบแทนพนักงาน เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 จำนวน 200 คน x 1 ครั้ง x 20 บาท เป็นเงิน 4,000 บาทงบประมาณ 4,000.00 บาท - 5. บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมสำเร็จรูป “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”รายละเอียด
บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมสำเร็จรูป “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” (ก่อน และหลังการสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ)
1. ค่าจ้างพนักงานบันทึกข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608 จำนวน 200 คน x 2 ชุด x 10 บาท เป็นเงิน 4,000 บาทงบประมาณ 4,000.00 บาท - 6. การวิเคราะห์ข้อมูลรายละเอียด
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบก่อน-หลัง ของข้อมูล อายุ เพศ อาชีพ การศึกษาโรคประจำตัว ข้อมูลความรู้ ความเชื่อ ป่วยกี่ครั้ง อาการฉีดกี่เข็ม ชนิดวัคซีน สถานที่ฉีด สวัสดิการที่ ได้รับจากการติดโควิด ใครเป็นคนตัดสินใจเรื่องการฉีดวัคซีน และนำข้อมูลที่ได้เป็นประโยชน์ในการวางแผนป้องกันโรคโควิด
ไม่ใช้งบประมาณงบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
หมู่ที่ 7 และหมู่ที่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
รวมงบประมาณโครงการ 45,000.00 บาท
หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายสามารถถั่วเฉลี่ยจ่ายข้ามหมวดได้ตามความเหมาะสม
- กลุ่มเป้าหมาย 608 มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
- กลุ่มเป้าหมาย 608 ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
- อัตราป่วยด้วยโรคโควิดในในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50
- อัตราตายด้วยโรคโควิดในในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50
- ได้พัฒนารูปแบบ “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”
- ผลการวิเคราะห์นำไปใช้ในการวางแผนป้องกันควบคุมโรคโควิดในลำดับต่อไป
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง รหัส กปท. L8415
อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง รหัส กปท. L8415
อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................