กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิดเข็ม 3 (รพ.สต.บ้านจันนา)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา

หมู่ที่ 7 และหมู่ที่ 8 ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

 

31.15
2 จำนวนจิตอาสาและอสม.(คน)ที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้

 

23.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา

 

100.00
4 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

 

100.00
5 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง

 

31.15

สถานการณ์โรคโควิด-19 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2565 ทั่วโลก 220 ประเทศ พบผู้ป่วยยืนยัน 281,822,609 รายเสียชีวิต 5,422,564 ราย ประเทศไทย พบผู้ป่วยยืนยัน 2,214,712 ราย เสียชีวิต 21,630 ราย จำนวนผู้ป่วยโควิดของจังหวัดพัทลุงอยู่ในลำดับที่ 9 ของประเทศ พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 13,457 ราย เสียชีวิต 120 ราย ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านจันนา พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 47 ราย เสียชีวิต 0 ราย หมู่ที่ 11 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 13 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 3 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 9 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 8 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 8 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 8 ตำบลชะมวง พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 8 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 4 ตำบลดอนทราย พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 7 ราย เสียชีวิต 0 ราย , หมู่ที่ 7 ตำบลชะมวง พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 2 ราย เสียชีวิต 0 ราย นายแพทย์ แอนโทนี เพาซี แพทย์ใหญ่ประจำคณะทำงานด้านการควบคุมโรคโควิด 2019 ของทำเนียบขาว เปิดเผยว่า ยอดติดเชื้อโควิด-19 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอนที่แพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วทั่วโลก “ยอดติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นทุกวัน ค่าเฉลี่ยของสัปดาห์ที่แล้วอยู่ที่ 150,000 ราย และน่าจะเพิ่มขึ้นสูงกว่านั้นมาก วิธีป้องกันโรคโควิด-19 ที่ดีที่สุดคือการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น (เข็ม 3) ประกอบกับองค์การอนามัยจะประกาศโรคโควิด-19 เป็นโรคประจำถิ่น ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2565 แต่มีเงื่อนไขข้อหนึ่งระบุว่า ประชาชนในประเทศไทยต้องได้รับการฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น อย่างน้อยร้อยละ 60 จึงจะก่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ และผ่านหลักเกณฑ์ดังกล่าว โดยเป้าหมาย 608 ของอำเภอควนขนุนเท่ากับ 22,569 ราย ฉีดเข็มกระตุ้นแล้ว 7,112 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.51 (ข้อมูลจาก สสจ.พัทลุง เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2565) จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว รพ.สต.บ้านจันนา เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ในพื้นที่เขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านจันนา ทั้ง 2 หมู่บ้าน ไม่ให้แพร่ระบาด จึงได้เขียนโครงการฯ เพื่อของบกองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลชะมวง ในการดำเนินการรณรงค์กระตุ้นการฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็ม 3 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิดเข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608
  1. กลุ่มเป้าหมาย 608 มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
  2. กลุ่มเป้าหมาย 608 ฉีดวัคซีนเข้มกระตุ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
  3. อัตราการป่วยด้วยโรคโควิดในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50
  4. อัตราการตายด้วยโรคโควิดในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50
100.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 182
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 18
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมการเก็บข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”

ชื่อกิจกรรม
อบรมการเก็บข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมการเก็บข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” แก่ อสม. 2 หมู่บ้าน ตำบลชะมวง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.จันนา จำนวน 23 คน
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเป้าหมายและผู้จัดจำนวน 25 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน กลุ่มเป้าหมายและผู้จัดจำนวน 25 คน x 1 มื้อ x 70 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชม. x 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
4.ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน 800 แผ่น ๆ ละ 0.50 บาท เป็นเงิน 400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 1 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output)
1. จัดอบรมการเก็บข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” จำนวน 1 ครั้ง
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. อสม.มีความรู้ มีความเข้าใจ เกิดทักษะในการรณรงค์สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” ได้ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7000.00

กิจกรรมที่ 2 เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลก่อนทำกิจกรรมสัมภาษณ์)

ชื่อกิจกรรม
เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลก่อนทำกิจกรรมสัมภาษณ์)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลก่อนทำกิจกรรมัมภาษณ์)
1. ค่าตอบแทนพนักงาน เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 จำนวน 200 คน x 1 ครั้ง x 20 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ข้อมูลความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 3 สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ

ชื่อกิจกรรม
สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” โดย อสม.
ค่าใช้จ่ายดังนี้
1.ค่าตอบแทนพนักงาน สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” จำนวน 200 คน x 1 ครั้ง x 50 บาท เป็นเงิน 10000 บาท
2.ค่าอุปกรณ์ตัวอย่างสำหรับการป้องกันโควิด (แมส+เจลแอลกอฮอล์) จำนวน 200 คน x 1 ชุด x 80 บาท เป็นเงิน 16000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 14 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output) เสริมสร้างแรงจูงใจ “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” จำนวน 200 คน /1 ครั้ง ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ประชากรกลุ่ม 608 มีความรู้ มีความเชื่อที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
2.ประชากรกลุ่ม 608 ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นเพิ่อขึ้น ร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26000.00

กิจกรรมที่ 4 เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลหลังทำกิจกรรมสัมภาษณ์)

ชื่อกิจกรรม
เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลหลังทำกิจกรรมสัมภาษณ์)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม (เก็บข้อมูลหลังทำกิจกรรมสัมภาษณ์)
1. ค่าตอบแทนพนักงาน เก็บข้อมูลตามแบบสัมภาษณ์ความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 จำนวน 200 คน x 1 ครั้ง x 20 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 14 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ข้อมูลความต้องการวัคซีนโควิด-19 ในกลุ่มประชากร 608 (หลังทำกิจกรรมสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 5 บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมสำเร็จรูป “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”

ชื่อกิจกรรม
บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมสำเร็จรูป “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมสำเร็จรูป “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608” (ก่อน และหลังการสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ)
1. ค่าจ้างพนักงานบันทึกข้อมูล “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608 จำนวน 200 คน x 2 ชุด x 10 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output)
1. บันทึกข้อมูลก่อนและหลังการสัมภาษณ์ “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในประชากรกลุ่ม 608” จำนวน 2 ครั้ง
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
การวิเคราะห์ข้อมูล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบก่อน-หลัง ของข้อมูล อายุ เพศ อาชีพ การศึกษาโรคประจำตัว ข้อมูลความรู้ ความเชื่อ ป่วยกี่ครั้ง อาการฉีดกี่เข็ม ชนิดวัคซีน สถานที่ฉีด สวัสดิการที่ ได้รับจากการติดโควิด ใครเป็นคนตัดสินใจเรื่องการฉีดวัคซีน และนำข้อมูลที่ได้เป็นประโยชน์ในการวางแผนป้องกันโรคโควิด
ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต (Output)
1. มีการวิเคราะห์ข้อมูล (ก่อน-หลัง) จำนวน 2 ครั้ง
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 45,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่ายสามารถถั่วเฉลี่ยจ่ายข้ามหมวดได้ตามความเหมาะสม

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเป้าหมาย 608 มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
2. กลุ่มเป้าหมาย 608 ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
3. อัตราป่วยด้วยโรคโควิดในในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50
4. อัตราตายด้วยโรคโควิดในในกลุ่ม 608 ลดลง ร้อยละ 50
5. ได้พัฒนารูปแบบ “สร้างการเรียนรู้นำไปสู่การกระตุ้นวัคซีนโควิด เข็ม 3 ในกลุ่มประชากร 608”
6. ผลการวิเคราะห์นำไปใช้ในการวางแผนป้องกันควบคุมโรคโควิดในลำดับต่อไป


>