กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ
กลุ่มคน
1.นายรัฐการลัดเลีย

2.นางสาวอาทิญา ชัยทอง

3.นางสาวรุ่งนภา อุสมา

4.นางสาวพิชยา ดำสนิท

5.นางสาวสุกัยดา ยาหมาย
3.
หลักการและเหตุผล

สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานที่เป็นหลักสำคัญที่สุดของสังคมเป็นรากฐานของการพัฒนาคนและสังคม โดยทำหน้าที่หล่อหลอมและขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกในครอบครัวด้วยการอบรมเลี้ยงดู พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้แก่สมาชิกครอบครัวเพื่อให้สมาชิกครอบครัวมีพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบ และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ
ปัจจุบันครอบครัวไทยเปลี่ยนจากรูปแบบจากครอบครัวขยายซึ่งมีสมาชิก 3 ช่วงวัย กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น และนับวันยิ่่งมีขนาดเล็กลง จำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือเพียง 1.5 คน/ครอบครัวซึมซับวัฒนธรรมตะวันตกมาอย่างต่อเนื่องจนทำให้สังคมไทยและคนในสังคมมีการเปลี่ยนแปลงในด้านวิถีการดำเนินชีวิตและวิถีวัฒนธรรมอย่างรวดเร็ว ขณะที่โครงสร้างทางสังคมไทยยังไม่สามารถปรับตัวได้ทันคนไทยจึงต้องเผชิญกับวิกฤตเรื่องค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรมที่มีการเลียนแบบวัฒนธรรมการบริโภคนิยม วัตถุนิยม และการให้ความสำคัญกับเงินตราเป็นตัวตั้งซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเริ่มต้นจากเมืองหลวงและกระจายตัวไปสู่เมืองใหญ่ และจากเมืองใหญ่ไปสู่ชนบทโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและสื่อทุกแขนงเป็นตัวเชื่อมร้อยให้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤติทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างทั่วถึง ผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ดังกล่าวทำให้ครอบครัวไทยประสบปัญหาอย่างรุนแรง ปัญหาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบ ได้แก่การหย่าร้าง สัมพันธภาพในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัว เด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ฯลฯ ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจที่แต่ละครอบครัวต้องดิ้นรนและแข่งขันกันทำมาหากิน ส่งผลให้สัมพันธภาพและความเกื้อกูลของคนในครอบครัวและชุมชนลดน้อยลง พ่อแม่ผู้ปกครองไม่ทำหน้าที่อบรมสั่งสอนและขัดเกลาสมาชิกในครอบครัวให้เป็นคนดีและมีการเจริญเติบโตตามวัย จึงทำให้เด็กไทยในปัจจุบันตกเป็นเหยื่อของค่านิยมผิด ๆ ในด้านวัตถุนิยม บริโภคนิยม ติดอบายมุข ติดยาเสพติดมีนิสัยก้าวร้าว ชอบใช้ความรุนแรง ขาดความอดทนอดกลั้น มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร มีการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ไม่สนใจเรียน และออกจากโรงเรียนกลางคัน การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง เพราะในแต่ละช่วงวัยจะมีความแตกต่างกัน เนื่องจากในแต่ละวัย สภาพร่างกายต้องการได้รับการดูแลที่ไม่เหมือนกัน ในวัยเด็กหรือวัยรุ่น ต้องการการดูแลสุขภาพเพื่อไปสร้างเสริมร่างกายให้เกิดความเจริญเติบโต ในวัยทำงานหรือวัยกลางคนก็ต้องการการซ่อมเสริมเพื่อให้ร่างกายแข็งแกร่งและป้องกันการเกิดโรคเพื่อสามารถทำงานหนักได้อย่างสมดุล และในวัยสูงอายุก็ต้องการการดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ เพราะอยู่ในวัยที่ร่างกายผ่านการใช้งานมามากและมีความเสื่อมโทรม ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้ความรู้และกระตุ้นให้บุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะกับวัย การป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น การออกกำลังกายที่เหมาะสม และสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันครอบครัว เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม มีสติแก้ไขปัญหาที่ครอบครัวได้รับผลกระทบได้
    ขนาดปัญหา 5.00 เป้าหมาย 30.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ
    รายละเอียด

    ประชุมแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน  15  คน เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการจำนวน  2 ครั้ง โดยมีค่าใช้จ่ายในกิจกรรมดังนี้ ค่าอาหารว่าง จำนวน 15 คน คนละ  35 บาท จำนวน 2 ครั้ง  เป็นเงิน 1050 บาท

    งบประมาณ 1,050.00 บาท
  • 2. จัดอบรมให้ความรู้ครอบครัวสุขภาพดี
    รายละเอียด

    กิจกรรมอบรมให้ความรู้การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัวการเฝ้าระวังสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว (แกนนำ 15 คน คณะทำงานสพค. วัยทำงาน 15 คน เจ้าหน้าที่ 10 คน) โดยมีงบประมาณค่าใช้จ่ายดังนี้ 1. ค่าวิทยากรบรรยายจำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท คิดเป็นเงิน 1,800 บาท 2. ค่าวิยากรกระบวนการ จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 4 คน ชั่วโมงละ 300 บาท คิดเป็นเงิน 3,600 บาท 3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน คนละ 100 บาท จำนวน 1 มื้อ คิดเป็นเงิน 4,000 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 40 คน คนละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อคิดเป็นเงิน 2,800 บาท 5. ค่าวัดสุอุปกรณ์ที่ใช้ในโครงการ คิดเป็นเงิน 2,000 บาท 6. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ป้าย คิดเป็นเงิน 500 บาท รวมค่าจ่าย 14,700 บาท (ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้) ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. พิธีเปิดโครงการครอบครัวสุขภาพดี สังคมมีสุข ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. รับฟังบรรยายในหัวข้อ” คุณค่าของการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวให้เหมาะสมกับช่วงวัย” โดย ทีมวิทยากรนักวิชาการสาธารณสุข
    ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว โดยทีมวิทยากรกระบวนการ ๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ทำแบบประเมินผล ปิดโครงการและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ  หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น.

    งบประมาณ 14,700.00 บาท
  • 3. สรุปผลการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    สรุปผลการดำเนินโครงการและรายงานผลการดำเนินโครงการแก่เจ้าของงบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 16 มิถุนายน 2565 ถึง 16 มิถุนายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงูจังหวัดสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,750.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ครอบครัวอบอุ่น สังคมมีสุข

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ รหัส กปท. L5312

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,750.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................