กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคลินิกชุมชนดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเชิงรุกในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางใหญ่

ชมรมสร้างสุขภาพบางใหญ่ หมู่ที่ 5

1.นายสมภพขันธ์ถาวร
2.นางทองสุข ทองเลื่อน
3.นางพรรณวดีจันทร์มณี
4.นางกัณยพัชร์บุญอังคณารัตน์
5.นางสุรางค์แก้วนอก

ชุมชนบ้านบางใหญ่และหมู่บ้านอาสาเฮาส์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวานความดันเป็นโรคที่ไม่ติดต่อ แต่เมื่อเป็นแล้วจะเรื้อรัง ต้องเฝ้าระวังดูแลไม่ให้เป็นมาก เมื่อรับการดูแลรักษาก็จะมีโอกาสหายได้ ปัจจุบันมีผู้ป่วยเบาหวานความดันในพื้นที่ หมู่ 5 ต.บางใหญ่ไม่น้อย แยกดูแลรักษาสองที่ คือที่ รพ.สต.บ้านคลองโยง และที่คลิกนิกชุมชนท้ายหมู่บ้านอาสาเฮาส์เพื่อเป็นการดูแลคนไข้ ให้คนไข้ที่ไม่สามารถทางไปรับการรักษาที่ รพ.สต.บ้านคลองโยงได้ อันเนื่องมาตากห่างไกล หรือไม่ มีญาติพาไป ก็ให้รับการรักษาที่คลินิกชุมชนหมู่บ้านอาสาเฮาส์โดยจะมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาดูแลรักษาทุกเดือน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อดูแลผู้ป่วยเรื้อรังเป็นการลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวานและความดันสูง
  1. ผู้ป่วยเรื้อรังเป็นการลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวานและความดันสูง
0.00
2 2.เพื่อเน้นการส่งเสริมสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองของผู้ป่วย

2.ส่งเสริมสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองของผู้ป่วย

0.00
3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยมีผลการรักษาที่ดีขึ้น

3.ผู้ป่วยมีผลการรักษาที่ดีขึ้น

0.00
4 4. เพื่อความสะดวกของผู้ป่วยในการเข้ารับการดูแลรักษา

4.ผู้ป่วยได้รับความสะดวกในการเข้ารับการดูแลรักษา

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานและติดตามผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานและติดตามผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมคณะทำงานซึ่งมีอยู่แล้ว เพื่อสรุปโครงการถึงปัญหาและอุปสรรค์ที่ผ่านมา และวางแผนการดำเนินงานโครงการที่จะทำอย่างต่อเนื่อง ซึ่งประกอบไปด้วย กรรมการชมรมสร้างสุขภาพ และคณะทำงานโครงการ 1.ได้ประชุมสรุปผล หารือ และวางแผน ซึ่งประกอบไปด้วยกรรมการชมรมสร้างสุขภาพ 10 คน คณะทำงาน 10 คน รวม 20 คน 2. มีการประชุม 2 ครั้ง ก่อนโครงการและสิ้นสุดโครงการ ค่าอาหารวว่าง 20 คน คนละ 35 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 1,400 บาท 3. ป้ายโครงการ จำนวน 2 ป้าย ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้ประชุมสรุปผล หารือ และวางแผน ซึ่งประกอบไปด้วยกรรมการชมรมสร้างสุขภาพ
2. มีการประชุม 2 ครั้ง ก่อนโครงการและสิ้นสุดโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2400.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมดำเนินการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมดำเนินการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. การตรวจน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ลงบันทึกข้อมูลและจ่ายยา จะทำทึกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง ห่างกัน 25 วัน ตามที่หมอนัด เวลา 07.00 - 11.00 น. ครั้งละ 4 ชั่วโมง จำนวน 9 ครั้งครั้งละ 40 คน
  2. ค่าตอบแทนผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มาช่วยงาน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 3 คน คนลๆ 200 บาท จำนวน 12 ครั้ง
  3. ค่าอาหารว่างสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน-ความดัน จำนวน 40 คน คนละ 35 บาท จำนวน 12 ครั้ง เป็นเงิน 16,800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คนไข้เข้าร่วมกิจกรรมในการดูแลรักษาทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง คนไข้สะดวกในการรักษาไม่ต้องเดินทางไกล และจะได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลรักษาเอาใจใส่จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างใกล้ชิด
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเพิ่มเติมอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับการจัดทำโครงการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมเพิ่มเติมอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับการจัดทำโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อุปกรณ์คัดกรองโควิด19 (เครื่องวัดอุณหภูมิ,หน้ากากอนามัย,แอลกอฮอล์) เป็นเงิน 2,000 บาท
  2. การจัดทำเอกสาร หลักฐานในการเบิกจ่ายงบประมาณ เป็นเงิน 1,000 บาท
  3. การจัดทำสรุปรายงาน ภาพถ่าย เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. รูปเล้มการรายงาน หลักฐานเอกสาร เมื่อสิ้นสุดโครงการ
  2. ตลอดโครงการไม่มีผู้ติดเชื้อ และแพร่ระบาดของโรคโควิด19 ในคลินิกชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,900.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่ายสามารถถัวจ่ายได้ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน ที่ดูแลรักษาโดยคลินิกชุมชนหมู่บ้านอาสาเฮาส์ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมากขึ้น ผลของระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่ทางชมรมสร้างเสริมสุขภาพบางใหญ่ หมู่ที่ 5 นำมาบริการให้สะดวก


>