กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการบ้านจือโระร่วมมือร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูงตามหลัก 3อ.2ส.
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่6
3.
หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลกและประเทศไทย ความดันโลหิตสูงเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้ประชากรทั่วโลกเกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562) เนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูงจะไม่มีสัญญาณเตือนหรืออาการแสดงจึงมักถูกเรียกว่าเป็น “ฆาตกรเงียบ (silent killer)” องค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) พบว่า โรคความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตทั่วโลก 7.5 ล้านคน (ร้อยละ 12.8) ของการเสียชีวิตทั้งหมด และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกือบ 1 พันล้านคนทั่วโลก ซึ่งคาดว่าในปี 2568 ความชุกของผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.56 พันล้านคน สำหรับสถานการณ์ในประเทศไทย พบจำนวนผู้ป่วยระหว่างปี 2560-2562 เท่ากับ 1,363,616 คน 1,468,433 คน และ 1,566,762 คน ตามลำดับ และเสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูงระหว่างปี 2560-2562 เท่ากับ 8,525 คน และ 9,313 (สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2562) ซึ่งปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การรับประทานอาหารที่มีปริมาณโซเดียมสูง (เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ปลากระป๋อง) การสูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อ้วน ภาวะเครียดสะสม ประกอบกับอายุที่มากขึ้น และกรรมพันธุ์ (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์, 2551) ผู้ป่วยจำนวนมากเป็นโรคความดันโลหิตสูงโดยไม่รู้ตัว หากไม่ได้รับการดูแลรักษาหรือควบคุมความดันโลหิตให้คงที่อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ เป็นสาเหตุของทุพพลภาพและการเสียชีวิต เช่น โรคหัวใจ โรคไตวาย และโรคหลอดเลือดสมองตีบและแตก ส่งผลให้เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว จากการศึกษาข้อมูลในชุมชน หมู่ 6 บ้านจือโระ ตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี พบว่า มีประชากรทั้งหมด 1,644 คน และมีครัวเรือนทั้งหมด 318 ครัวเรือน ซึ่งนักศึกษาได้สำรวจปัญหาในชุมชนเป็นจำนวนทั้งหมด 60 ครัวเรือน โดยจากการทำแบบสอบถามพบปัญหา 5 อันดับแรกทั้งหมด 5 ปัญหา ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 16.67 โรคเบาหวาน ร้อยละ 6.67 โรคไข้หวัด ร้อยละ 4.32 ปัญหาปวดกล้ามเนื้อ ร้อยละ 2.74และหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 0.14 ตามลำดับ ซึ่งนักศึกษาได้นำปัญหาดังกล่าวจัดทำเวทีประชาคม จึงได้ปัญหาที่ประชาชนเห็นถึงความสำคัญที่ต้องการแก้ไขปัญหา คือ โรคความดันโลหิตสูงซึ่งจัดเป็นปัญหาอันดับหนึ่งที่พบมากที่สุดในหมู่บ้าน เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูงส่งผลกระทบรุนแรงต่อร่างกาย เช่น ภาวะไขมันในหลอดเลือดสูง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เส้นเลือดตีบอุดตัน เลือดไหลไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ของร่างกายไม่เพียงพอ ทำให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือถึงขั้นเสียชีวิต ดังนั้น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น นักศึกษาจึงจัดทำโครงการบ้านจือโระร่วมมือร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูงตามหลัก 3อ.2ส. โดยมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรับรู้โอกาสเสี่ยงจาการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงตามทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงตามหลัก 3อ.2ส. ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมการเลือกอาหารที่เหมาะสมและไม่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กิจกรรมการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กิจกรรมสมาธิบำบัด SKT และมีการติดตามความดันโลหิตหลังอบรม ภายหลังเข้าร่วมโครงการผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงที่เพิ่มขึ้น เพื่อสามารถป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูง และมีความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. ที่ถูกต้องและเหมาะสม รวมทั้งมีความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นหรือปกติ หลังจากได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูงตามหลัก 3อ.2ส. โดยทำการติดตามความดันโลหิตด้วยการเยี่ยมบ้าน 4 ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและมีความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส.
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูและมีความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส.
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรับรู้โอกาสเสี่ยงจาการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงตามหลัก 3อ.2ส.
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน X 25 บาท X 2 มื้อ = 1,500 บาท

    • ค่าอาหารกลางวัน 30 คน X 50 X 1 มื้อ = 1,500 บาท

    • ค่าป้ายโครงการฯ ขนาด 1X2 เมตร = 450 บาท

    • ค่าวัสดุอุปกรณ์  1,465 บาท

    • ค่าโปสเตอร์ 150 แผ่น X 20 บาท = 3,000 บาท

    งบประมาณ 7,915.00 บาท
  • 2. กิจกรรมติดตามความดันโลหิตโดยการเยี่ยมบ้าน 4 ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
    รายละเอียด
    • ค่าติดตาม 4 คน X 150 บาท X 4 ครั้ง = 2,400 บาท
    งบประมาณ 2,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 29 มีนาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่6 บ้านจือโระ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,315.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีการรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพื่อสามารถป้องกันตนเองจากโรคความดันโลหิตสูงได้

  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส. ได้ถูกต้องและเหมาะสม

  3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความดันโลหิตอยู่ในระดับปกติ หลังจากได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความดันโลหิตสูงตามหลัก 3อ.2ส. (ติดตามผลโดยการเยี่ยมบ้าน 4 ครั้ง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง)

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา รหัส กปท. L3013

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,315.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................