กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

สังคมใส่ใจ คนไทยสุขภาพดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชมรม อสม. หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านพร้าว/นางเตือนใจ เกลี้ยงทอง

1.นางเตือนใจ เกลี้ยงทอง
2.นางสาวธัญญารัตน์ เพชรรัตน์
3.นางฉลวย วัตรุจีกฤติ
4.นางสำรวย นิ่มมณี
5.นางสุพรรษา จันทราชา

เขตความรับผิดชอบของหมู่ที่ 3 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การส่งเสริมสุขภาพหมายถึงกระบวนการสร้างสมรรถนะให้คนเรามีความสามารถเพิ่มขึ้นในการควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพและเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดีขึ้นการส่งเสริมสุขภาพเป็นการเอื้ออำนวยให้มีสภาวะร่างกายจิตใจและความเป็นอยู่ในสังคมที่สมบูรณ์บุคคลหรือชุมชนสามารถระบุสิ่งที่จำเป็นในการที่จะบรรลุการมีสุขภาพดีและในการเปลี่ยนหรือการจัดสิ่งแวดล้อมสุขภาพนั้นถือเป็นแนวความคิดด้านบวกที่เน้นทรัพยากรทางสังคมและส่วนบุคคลมากเท่ากับเน้นความสามารถทางกายโดยนัยนี้การส่งเสริมสุขภาพจึงไม่ใช่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสุขภาพเท่านั้นแต่รวมไปถึงการที่ประชาชนมีการปฏิบัติให้เกิดวิถีชีวิตที่ดีเพื่อความเป็นอยู่ที่ดี การทำงานที่ต้องแข่งกับเวลาขาดการออกกำลังกายมลพิษต่างๆในสิ่งแวดล้อมหรือการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะทำให้ร่างกายอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพพลานามัยได้การตรวจสุขภาพจะช่วยให้ทราบว่าขณะนี้ร่างกายอยู่ในระดับไหนมีโรคร้ายแฝงอยู่หรือไม่ โดยเฉพาะโรคที่อยู่ในขอบเขตที่การแพทย์ปัจจุบันสามารถตรวจพบได้ซึ่งจะทำให้สามารถปฏิบัติตัวได้เหมาะสม เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนของโรคและมีคุณภาพชีวิตที่ดี การให้บริการตรวจสุขภาพเชิงรุกจึงเป็นการอำนวยความสะดวกในการรับบริการตรวจสุขภาพและทำให้เจ้าหน้าที่สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพรายบุคคลตามบริบทของแต่ละบุคคลในชุมชนดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง ดังนั้นชมรมอสม. ม.3 จึงจัดทำโครงการ”สังคมใส่ใจ คนไทยสุขภาพดี ” นี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนทราบถึงอันตรายจากสารพิษตกค้างในเลือดและผลที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพในอนาคต

ร้อยละ 80 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด

80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการรับประทานอาหารให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการรับประทานอาหารให้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวิทยากร 3 ชม.ๆละ 300.- เป็นเงิน 900 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25.-  เป็นเงิน 2,500 บาท -ค่าป้าวไวนิลขนาด13เมตร150 บาท จำนวน 1 ผื่น เป็นเงิน 450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้อันตรายจากสารเคมีตกค้างในเลือด/ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีรับความรู้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3850.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการตรวจคัดกรองสารพิษตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการตรวจคัดกรองสารพิษตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดจำนวน 100 คนๆละ 50.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด/ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,850.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้ตามความเหมาะสม***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเฝ้าระวังทางสุขภาพ
2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีขึ้น


>