กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าพุทรา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าพุทรา

โรงเรียนบ้านคลองแขยง

โรงเรียนบ้านคลองแขยง หมู่ที่ 1 ตำบลท่าพุทรา อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ ในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19

 

63.00
2 ร้อยละของการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในโรงเรียน

 

66.00
3 ร้อยละของการสนับสนุนนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคโควิด-19 ในโรงเรียน

 

88.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมนักเรียนมีความรู้ คำแนะนำในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19

ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ ในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19 เพิ่มขึ้น

63.00 73.00
2 เพื่อเป็นการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในโรงเรียน อย่างรวดเร็วทันท่วงที และมีประสิทธิภาพ

ร้อยละของการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในโรงเรียน เพิ่มขึ้น

66.00 70.00
3 เพื่อการสนับสนุนนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคโควิด-19 ในโรงเรียน

ร้อยละของการสนับสนุนนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคโควิด-19 ในโรงเรียน รวดเร็วเพิ่มขึ้น

88.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 53
กลุ่มวัยทำงาน 8
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2021

กำหนดเสร็จ 30/03/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ขั้นตอนวางแผนงาน

ชื่อกิจกรรม
1. ขั้นตอนวางแผนงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
  3. ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ครุภัณฑ์ประกอบการดำเนินงานโครงการควบคุมเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 (COVID-19)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • อนุมัติโครงการฯ และติดต่อประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง
  • เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2. ขั้นตอนดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
2. ขั้นตอนดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  • รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  • สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  • ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ได้รับความรู้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  • เฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 3. งบประมาณค่าใช้จ่าย

ชื่อกิจกรรม
3. งบประมาณค่าใช้จ่าย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 61 คนๆละ 1 มื้อ เป็นเงิน 1,525 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20 *2.5 เมตร เป็นเงิน 355 บาท
  • ค่าเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ชนิดขวด 400 มล. จำนวน 30 ขวดๆละ 125 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท
  • ค่าหน้ากากอนามัย สำหัรบผู้ใหญ่ จำนวน 29 กล่องๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,015 บาท
  • ค่าหน้ากากอนามัย สำหัรบเด็ก จำนวน 29 กล่องๆละ 35 บาท เป็นเงิน 1,015 บาท
  • ค่าสื่อป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.5*3 เมตร. เป็นเงิน 540 บาท
  • ค่าชุดตรวจ ATK จำนวน  20 ชุดๆละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • สามารถนำวัสดุอุปกรณ์มาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนทุกคนได้รับความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้น สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
2. เป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เบื้องต้นในระดับโรงเรียน/สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีทรัพยากร งบประมาณ พอเพียงต่อการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน


>