2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ด้วยในปัจจุบัน สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ยังมีอยู่ ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก ทราบกันดีว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย เป็นเหตุให้รัฐบาลไทยต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร นอกจากนี้ รัฐบาลไทยได้ออกพระราชกำหนดเพื่อใช้ในการบริหารรการในสุถานการณ์ฉุกเฉิน โดยวางมาตรการที่พึงปฏิบัติสำหรับบุคคลบางประเภท ซึ่งกำหนดให้เป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19 ได้ง่าย อยู่ในเคหะสถานหรือบริเวณสถานที่พักของตนเองเพื่อป้องกันตนเองจากการติดเชื้อจากสภาพแวดล้อมภายนอก จากสถานการณ์การระบาดในตอนนี้ สายพันธุ์เดลต้าจะกลายเป็นสายพันธุ์หลักในระบาดอย่างรวดเร็วและคงระบายอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นต้องเร่งดำเนินการค้นหาตรวจโควิดเชิงรุก
จึงจำเป็นต้องปรับกระบวนการโดยจัดใหมีกิจกรรมสำรวจเด็ก ครูและบุคลากร เพื่อเข้าสู้ระบบคัดกรองตรวจหาเชื้อโควิด-19 และเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติด้านสุขอนามัยส่วนบุคคลและครอบครัว รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็ก ครูและบุคลากร และครอบครัวได้ปฏิบัติตนตามแนวทางปฏิบัติด้านสุขอนามัยที่กรมควบคุมโรคได้ จึงจัดให้มีโครงการนี้
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 17/05/2022
กำหนดเสร็จ 30/09/2022
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยเบิกจ่ายได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. เด็ก ผู้ปกครอง ครูและบุคลากร มีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
2. เด็ก ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และเฝ้าระวังติดตามรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ