กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ประจำปี 2565
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด
กลุ่มคน
๑.นางสาวอัปสร สุติกโทร ๐๖๓๗๓๐๗๘๔๘
๒.นางสาวิตรี โอมเพียรโทร ๐๘๔๖๘๒๒๘๖๘
๓.นางสาวจรรยาหยีสอีด โทร ๐๘๐๕๔๒๐๙๙๓
๔.นางสาววิชชุดาลาเย็นโทร ๐๘๒๔๓๘๗๗๖๔
๕.นางสาวรุวัยดาจิ้วจวบ โทร ๐๙๓๑๖๐๕๔๑๗
3.
หลักการและเหตุผล

เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่มีความสำคัญต้องมีการเตรียมความพร้อมในหลายๆด้านในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือ เพื่อให้เด็กได้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาได้เหมาะสมและเป็นไปตามวัย ครูและผู้ปกครองต้องตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพเด็กในระยะยาว ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต้องดำเนินการควบคู่กันไปกับการส่งเสริมพัฒนาการ นอกจากนี้จะต้องอาศัยความร่วมมือการประสานงานจากทุกฝ่าย เพราะเด็กวัยนี้มักจะมีปัญหาด้านสุขภาพและโรคภัยเจ็บไข้ได้ง่าย ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย หากเด็กมีสุขภาพดี ก็จะทำให้เด็กมีความพร้อมในการที่จะเรียนรู้ในด้านต่างๆได้ดี และเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่อายุ 2-5 ปีในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรปฐมวัย พ.ศ.2560 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น ตามศักยภาพของเด็กโดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด เปิดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ขวบในปีการศึกษาที่๒๕๖๔จำนวน ๒๖๘ พบว่าเด็กมีพัฒนาการการไม่สมวัยในด้านร่างกาย ร้อยละ 22 มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ๑๑น้ำหนักมากกว่าเกณฑ์และร้อยละ 6๗ มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จากการคัดกรองเด็กปฐมวัยที่มาเรียนในแต่ละวันพบว่าร้อยละ๒๒ ของเด็กทั้งหมดเกิดภาวะโรคติดต่อภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเช่น โรคหวัด โรคตาแดง โรคมือเท้าปากและภาวะเสี่ยงต่อการระบาดของเชื้อไวรัยโคโรน่า COVID 19 นอกจากนี้ผู้ปกครองร้อยละ๗๐ยังไม่เข้าใจในวิธีการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยในเรื่องของโภชนาการของเด็ก ยังให้เด็กกินขนมกรุบกรอบ ดื่มน้ำอัดลมและลูกกวาด ขนมหวานต่างๆซึ่งส่งผลให้เด็กร้อยละ 80 มีปัญหาในเรื่องของโรคฟันผุศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด จึงมีความจำเป็นในการจัดโครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด ประจำปี 2565 ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด มีพัฒนาการที่สมวัย และกิจกรรมทางกาย
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีพัฒนาการที่สมวัยทั้ง 5 ด้านและมีกิจกรรมทางกายอย่างน้อย ๑ช.ม/วัน.
    ขนาดปัญหา 134.00 เป้าหมาย 134.00
  • 2. เพื่อลดภาวะโรคติดต่อและป้องกันภาวะเสี่ยงในโรคระบาดโคโรน่าcovid 19 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด
    ตัวชี้วัด : ลดการแพร่ระบาดไม่พบการระบาดเป็นกลุ่มก้อนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด
    ขนาดปัญหา 134.00 เป้าหมาย 134.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : โรคฟันผุในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดไม่เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 134.00 เป้าหมาย 134.00
  • 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีกิจกรรมทางกายร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา 134.00 เป้าหมาย 134.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. สำรวจข้อมูลพัฒนาการ
    รายละเอียด

    1.สำรวจข้อมูลพัฒนาการ โภชนาการ ฟัน และสถานการณ์โรคติดต่อต่างๆของเด็กแรกเข้าและทบทวนข้อมูลพัฒนาการ โภชนาการ ฟัน และสถานการณ์โรคติดต่อต่างๆที่เกี่ยวข้องจำนวน 2 ครั้งคือก่อนเริ่มโครงการและก่อนสิ้นสุดโครงการโดยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์การดำเนินงานเพื่อให้ครูสามารถเปรียบเทียบวัดผลการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานหลังเสร็จสิ้น โดยสำรวจข้อมูลดังต่อไปนี้ - สำรวจพัฒนาการสมวัยของเด็ก - ข้อมูลด้านโภชนาการ - สำรวจฟัน - โรคติดต่อในเด็ก - ค่าป้ายโครงการขนาด ๓x๒ เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท
    - ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล ๓ เครื่อง
    เป็นเงิน 3,600บาท - ที่วัดส่วนสูง 3 ชุดเป็นเงิน4,500 บาท

    • ชุดประเมินพัฒนาการ DSPMจำนวน 3 ชุด
      เป็นเงิน 8,400 บาท

    รวมค่าใช้จ่าย 17,400 บาท

    งบประมาณ 17,400.00 บาท
  • 2. ประชุมสังเคราะห์ข้อมูล
    รายละเอียด

    ประชุมสังเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลของเด็กแรกเข้าและเด็กเก่าในเรื่องพัฒนาการสมวัยของเด็กด้านโภชนาการ ฟัน และโรคติดต่อจำนวน 5 คน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๑มื้อๆละ 35 บาท จำนวน๕ชุด
    เป็นเงิน ๑๗๕ บาท

    งบประมาณ 175.00 บาท
  • 3. เวทีคืนข้อมูลและอบรมเชิงปฏิบัติสร้างความรู้ความเข้าใจ
    รายละเอียด

    3.เวทีคืนข้อมูลและอบรมเชิงปฏิบัติสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลบุตรหลานในเรื่องพัฒนาการสมวัย ภาวะโรคติดต่อในเด็ก และภาวะเสี่ยงในโรคระบาดโคโรน่าโดยการคัดกรองให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพปาก โรคฟันผุและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัยให้กับผู้ปกครอง 2 วัน จำนวน ๒๗๓ คน ประกอบด้วย -คณะครูจำนวน ๕ คน -เด็กนักเรียนจำนวน ๑๓๔คน -ผู้ปกครองจำนวน ๑๓๔ คน วันที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการสมวัยและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโรคติดต่อในเด็กและภาวะเสี่ยงในโรคระบาดโคโรน่าโดยการคัดกรอง วันที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพปาก โรคฟันผุและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๔ มื้อๆ ละ ๓5 บาท จำนวน ๒๗๓ ชุด
    เป็นเงิน ๓๘,๒๒๐ บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 2 มื้อๆละ 80 บาท จำนวน ๒๗๓ ชุด
    เป็นเงิน ๔๓,๖๘๐ บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 วัน วันละ 2 คน คนละ 2 ชม. ชม.ละ ๖00เป็นเงิน ๔,๘00 บาท - ค่าเอกสารการอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง ชุดละ 30 บาทจำนวน๑๓๔ ชุด เป็นเงิน 4,020 บาท - ปากกาน้ำเงิน ขนาด 0.5 มม.กล่องละ180 บาทจำนวน1 กล่อง เป็นเงิน180 บาท
    - กระดาษ A4 รีมละ 135 บาทจำนวน 1 รีม เป็นเงิน 135 บาท - เครื่องวัดอุณหภูมิแบบมีเจลล้างมือ เครื่องละ ๒,๕๐๐ บาท จำนวน ๓ เครื่อง
    เป็นเงิน 7,500 บาท - ชุดตรวจATK ชุดละ ๘๕ บาท จำนวน๑๓๔ ชุด เป็นเงิน๑๑,๓๙๐บาท
    - ชุดโมเดลฟันชุดละ 820 บาทจำนวน ๓ ชุดเป็นเงิน ๒,๔๖๐บาท - แปรงสีฟัน ยาสีฟันสำหรับเด็กจำนวน(๑๓๔ชุด ชุดละ 50 บาท ) เป็นเงิน๖,๗๐0บาท -ผ้าขนหนูผืนละ ๓๕ บาทจำนวน ๑๓๔ผืนเป็นเงิน๔,๖๙๐บาท -แก้วน้ำเด็ก ใบละ 20 บาท จำนวน ๑๓๔ ใบเป็นเงิน ๒,๖๘๐ บาท รวมค่าใช้จ่าย ๑๒๖,๔๕๕บาท

    งบประมาณ 126,455.00 บาท
  • 4. ปฏิบัติการปรับสภาพแวดล้อมใน ศพด.
    รายละเอียด
    1. ปฏิบัติการปรับสภาพแวดล้อมใน ศพด.และบริเวณใกล้เคียงให้เอื้อต่อการมีพัฒนาการที่สมวัยและการดูแลสุขภาพของเด็ก -ปรับที่สำหรับแปรงฟันของเด็กโดยทำอ่างล้างมือเคลื่อนที่ -ปรับสถานที่บริเวณในศพด.ให้เด็กมีพื้นที่ในการปลูกผักร่วมกับครูและผู้ปกครองในศพด.และจัดให้มีกิจกรรมรดน้ำผักทุกวันในตอนเช้า -ปรับพื้นที่บริเวณศพด.ให้มีพื้นที่ออกกำลังกายและจัดให้มีการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะหน้าเสาธงในทุกๆวัน เด็กได้เล่นปีนป่ายกับเครื่องเล่นสนามที่ทางศพด.จัดให้ในทุกๆวัน -ครูและจำนวนผู้ปกครองเข้าร่วมปรับสถานที่ ๓๐คน  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน ๒ มื้อ  มื้อละ ๓๕ บาทจำนวน ๓๐ คนเป็นเงินจำนวน ๒,๑๐๐ บาท -ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อ มื้อละ ๘๐ บาท  จำนวน ๓๐ คน เป็นเงินจำนวน ๒,๔๐๐ บาท

    - วัสดุอุปกรณ์ใช้ทำอ่างสำหรับแปรงฟันล้างมือ เด็กปฐมวัย จำนวน ๑๕ ชุด ชุดละ ๑,๐๐ บาท  เป็นเงิน  ๑๕,๐๐๐  บาท -น้ำยาฆ่าเชื้อเดทตอล ขนาด ๕ ลิตร แกลลอนละ  2,000 บาท จำนวน 3  แกลลอน    เป็นเงิน  6,000  บาท -แอลกอฮอล์ ขนาด ๕ ลิตร แกลอนละ  980 บาท  จำนวน ๖  แกลอน
    เป็นเงิน ๕,๘๘0 บาท
    -บัวรดน้ำ๖อันๆละ ๕o บาท เป็นเงิน ๓๐๐บาท -พันธุ์ผักบุ้ง 2 กิโลกรัมๆละ 100 บาท  เป็นเงิน ๒๐๐ บาท -ปุ๋ยอินทรีย์ ๑๐ กระสอบๆละ๕๐บาท  เป็นเงิน  ๕๐๐ บาท รวมค่าใช้จ่าย  ๓๒,๓๘๐ บาท

    งบประมาณ 32,380.00 บาท
  • 5. ปฏิบัติการของคณะครูและนักเรียนในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดย.
    รายละเอียด

    ปฏิบัติการของคณะครูและนักเรียนในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดย. 1.ครูทำความสะอาดสถานที่ภายในศูนย์โดยใช้ยาฆ่าเชื้อ 2.ครูทำการตรวจวัดไข้นักเรียนด้วยเครื่องวัดอุณหภูมิแบบมีเจล 3.ครูให้เด็กล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ 4.ครูพ่นแอลกอฮอล์โดยใช้ปืนยิงแอลกอฮอล์ทั่วอุปกรณ์ของใช้นักเรียน ๕.ครูตรวจATK ให้กับกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยงในศพด. ๖.ให้เด็กแปรงฟันโดยใช้ยาสีฟันแปรงสีฟันแก้วน้ำและผ้าขนหนูส่วนตัว ของตนเอง ๗.กิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าก่อนเข้าห้องเรียน ๘.กิจกรรมปลูกผักบุ้งและดูแลแปลงผัก ๙.ตรวจวัดไข้ ให้กับเด็กนักเรียนและล้างมือก่อนกลับบ้าน ๑๐.กิจกรรมจัดอ่างแปรงฟันเคลื่อนที่ให้กับเด็กเว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 6. ประชุมติดตามประเมินการดำเนินงานโครงการ
    รายละเอียด

    ประชุมติดตามประเมินการดำเนินงานโครงการ จำนวน  ๓  ครั้ง ๑.นางสาวอัปสร  สุติกโทร ๐๖๓๗๓๐๗๘๔๘ ๒.นางสาวิตรี      โอมเพียรโทร ๐๘๔๖๘๒๒๘๖๘ ๓.นางสาวจรรยา  หยีสอีดโทร ๐๘๐๕๔๒๐๙๙๓ ๔.นางสาววิชชุดา  ลาเย็น        โทร ๐๘๒๔๓๘๗๗๖๔ ๕.นางสาวรุวัยดา  จิ้วจวบ โทร ๐๙๓๑๖๐๕๔๑๗ และ ตัวแทนผู้ปกครองห้องเรียนละ 1 คนรวม๑๐ คน) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน ๑๕ คนมื้อละ ๓๕  บาท ๖  มื้อ เป็นเงิน ๓,๑๕๐ บาท -  ค่าอาหารกลางวันจำนวน ๑๕ คน  ๓ มื้อ มื้อละ  ๘๐บาทเป็นเงิน ๓,๖๐๐ บาท
    รวมค่าใช้จ่าย ๖,๗๕0 บาท

    งบประมาณ 6,750.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุด

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 183,160.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดมีพัฒนาการที่สมวัย ๒. ภาวะโรคติดต่อและภาวะเสี่ยงในโรคระบาดโคโรน่า covid 19 ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองขุดลดลง ๓. เด็กปฐมวัยมีสุขภาพช่องปากที่ดีขั้น และมีฟันผุในเด็กปฐมวัยลดลง ๔. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับโภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็กปฐมวัย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 183,160.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................