กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง รหัส กปท. L8415

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2565
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน
กลุ่มคน
1. นางอุไร สงนุ้ย
2. นางปาริชาต อ่อนประเสริฐ
3. นางโสภัคดี ณ พัทลุง
4. นางสาวยุวดี เกื้อรุ่ง
5. นางจำเรียง แก้วมาก
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่าง ๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียร์รอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง นอกจากนี้ร้านชำยังคงจำหน่ายบุหรี่แก่กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี ซึ่งตามกฎหมาย พรบ.บุหรี่ 2560 มาตรา 26 ห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่บุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปียังพบว่าในพื้นที่มีการจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้าถึงอย่างรวดเร็ว การโฆษณาชวนเชื่อ การับรู้ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการบริโภคสินค้าที่ไม่ปลอดภัยต่อประชาชนในพื้นที่และจากการประเมินร้านชำในปี 2562 พบว่าร้านชำยังมีการขายยาอันตราย เครื่องสำอางที่มีสารเคมีที่ไม่ปลอดภัย อาหารบางชนิดไม่มีฉลากวันหมดอายุของอาหารทำให้ยังพบอาหารที่หมดอายุขายในร้านผู้ประกอบการยังมีจำหน่ายบุหรี่แก่บุคคลที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี จึงจำเป็นจะต้องมีการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสร้างให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ดี ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรคอย่างยั่งยืนและในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนน ยังมีร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารหลายร้านที่ไม่ได้มาตรฐานไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน“อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)ดังนั้นเพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหาร ได้มีการปรับปรุงการบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลร้านชำ ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 25 ร้าน ข้อมูลร้านอาหาร ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 2 ร้าน ข้อมูลแผงลอยจำหน่ายอาหาร ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 17 ร้าน ดังนั้นชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน จึงจัดทำโครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2565เพื่อให้ร้านชำมีคุณภาพ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ได้มาตรฐานขึ้น และพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้มาตรฐาน เพื่อประชาชนผู้บริโภคชาวตำบลชะมวง ปลอดภัย ต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
    ตัวชี้วัด : ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 25.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ร้านอาหารผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานร้านอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
    ตัวชี้วัด : ร้านอาหารได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น ร้อยละ 100 ของจำนวนร้านอาหารที่จำหน่ายอาหารทั้งหมด
    ขนาดปัญหา 2.00 เป้าหมาย 100.00
  • 3. เพื่อให้แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
    ตัวชี้วัด : แผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 17.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุม อสม. เพื่อสำรวจข้อมูล
    รายละเอียด

    ประชุม อสม. เพื่อ - สำรวจข้อมูลร้านชำให้เป็นปัจจุบัน - สำรวจร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ให้เป็นปัจจุบัน - ชี้แจงเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพมาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ค่าใช้จ่ายดังนี้
    1. จัดทำป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.50 X 2.00 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 500 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน81 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 4050 บาท
    3. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 81 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 5670 บาท
    4. ค่าวิทยากรจำนวน 1 คนชั่วโมงละ 300 บาทจำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 1800 บาท

    งบประมาณ 12,020.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย แก่ผู้ประกอบการร้านชำ ผู้ประกอบการผู้ปรุงอาหาร
    รายละเอียด

    -อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ
    -อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการผู้ปรุงอาหารถึงเรื่องด้านสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ ชี้แจงเกณฑ์ร้านอาหารแผละแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ค่าใช้จ่ายดังนี้
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน14 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 700 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 14 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 980 บาท
    3. ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 1 คน ชั่วโมงละ 300 บาทจำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 1800 บาท
    4. ค่าเอกสารความรู้ เกณฑ์ร้านชำคุณภาพ เอกสารความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ เกณฑ์ร้านอาหารแผละแผงลอยจำหน่ายอาหารจำนวน 14 ชุด ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 280 บาท
    5. จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เครื่องสำอางห้ามใช้ยาห้ามขายและการลดการโฟมในชุมชน ขนาด 1.50 X 2.00 เมตร พร้อมโครงไม้ ขนาด 1 X 1 นิ้ว พร้อมค่าติดตั้งป้ายละ 750 บาทจำนวน 9 หมู่บ้าน
    หมู่บ้านละ 2 ป้าย เป็นเงิน 13500 บาท

    งบประมาณ 17,260.00 บาท
  • 3. อบรมทีมตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) จำนวน 18 คน ร่วมเป็นทีมงานในการดำเนินงานตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร
    ค่าใช้จ่ายดังนี้
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
    2. ชุดทดสอบฟอร์มาลีน จำนวน 14 ชุด ๆละ 90 บาท เป็นเงิน 1,260 บาท
    3. ชุดทดสอบบอร์แรกซ์ จำนวน 1 ชุด ๆละ 200 บาท ( ชุดละ 50 ตัวอย่าง ) เป็นเงิน 200 บาท
    4. ชุดทดสอบกรดซาลิซิลิก(สารกันรา) 1 ชุด ๆละ 250 บาท ( ชุดละ 50 ตัวอย่าง ) เป็นเงิน 250 บาท
    5. ชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์(สารฟอกขาว) 1 ชุด ๆละ 200 บาท ( ชุดละ 100 ตัวอย่าง ) เป็นเงิน 200 บาท
    6. ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย(SI2) (กล่องละ 50 ขวด) จำนวน 1 กล่อง ๆ ละ 900 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    7. ไม้พันสำลีแบบฆ่าเชื้อ ขนาด 6 นิ้ว จำนวน 1 กล่องๆ ละ 100 ชิ้น เป็นเงิน 100 บาท

    งบประมาณ 3,910.00 บาท
  • 4. ออกตรวจประเมิน ร้านชำคุณภาพ ประเมินมาตรฐานร้านอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
    รายละเอียด

    ออกตรวจประเมิน ร้านชำคุณภาพประเมินมาตรฐานร้านอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัยและเก็บตัวอย่างอาหารตรวจสารปนเปื้อนเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันโรคจากอาหารเป็นสื่อร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหัวถนน
    มอบป้ายอาหารปลอดภัยแก่ร้านอาหารแผงลอยและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ค่าใช้จ่าย
    1. ป้ายแผ่นพลาสวู๊ดพร้อมโซ่แขวน ขนาด 40x40 ซม. แผ่นละ 200 จำนวน 20 ป้าย เป็นเงิน 4000 บาท

    งบประมาณ 4,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1,2,4,5,6,9,10,11,13

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 37,190.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานร้านอาหารตามเกณฑ์ขั้นพื้นฐาน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง รหัส กปท. L8415

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง รหัส กปท. L8415

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 37,190.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................