กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตำบลปลอดมาลาเรีย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่มไทร

โครงการตำบลปลอดมาลาเรีย

พื้นที่่ตำบลร่มไทร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยในพื้นที่ตำบลร่มไทร อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ยังคงมีโรคติดต่อทางแมลงที่เกิดจากยุง เป็นพาหะนำโรค เช่น มาลาเรีย อีกเป็นจำนวนมาก และยังมีการแพร่ระบาดในพื้นที่ ปี 2564 พบผู้ป่วย 2 ราย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลร่มไทร ร่วมกับหน่วยควบคุมโรคติดต่อโดยแมลงที่ 2 อำเภอแว้ง แต่เดิมเป็นหน่วยงานหลักที่มีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงในพื้นที่อำเภอแว้ง และอำเภอสุคิริน แต่ปัจจุบันภาครัฐได้มีนโยบายใหม่ โดยบูรณาการการดำเนินงาน ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง คือ โรคมาลาเรียเข้าสู่สถานบริการ ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดทำโครงการร่วมกัน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลร่มไทร จึงได้ประสานจัดทำโครงการกับหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12 อำเภอแว้ง และองค์การบริหารส่วนตำบลร่มไทร มาร่วมกันเป็นแกนนำในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลร่มไทร

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 พื่อให้ทีมควบคุมโรคมีความรู้ในการดำเนินงานพ่นละอองฝอยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

ทีมควบคุมโรคมีความรู้ในการดำเนินงานพ่นละอองฝอยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ร้อยละ 95

95.00 95.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองจากโรคมาลาเรียที่ถูกต้อง

อัตราป่วยมาลาเรียต่อพันประชากรลดลง

90.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/04/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ตามหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ตามหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รณรงค์ให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ตามหมู่บ้าน ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด 100x250 เซนติเมตร   x10แผ่นx500บ. = 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 เมษายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

รณรงค์ให้ความรู้ และประชาสัมพันธ์ตามหมู่บ้าน ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด 100x250 เซนติเมตร   x10แผ่นx500บ. = 5,000 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทีมควบคุมโรค ให้ความรู้เรื่องวิธีการพ่นเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้างที่ถูกต้อง

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทีมควบคุมโรค ให้ความรู้เรื่องวิธีการพ่นเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้างที่ถูกต้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทีมควบคุมโรค เรื่องวิธีการพ่นเคมีชนิดมีฤทธิ์ตกค้างที่ถูกต้อง ค่าวิทยากร 600บ.x 6ชม. = 3,600 บาท ค่าอาหารกลางวัน ุ60 บ.x 50 คน = 3,000 บาท ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ x 25 บ.x 50 คน = 2,500 บาท
ค่าวัสดุในการอบรม = 3,000บาท (รายละเอียด แฟ้มกระดุมจำนวน 50 เล่่ม x 10 บาท = 500 บาท ,สมุดเบอร์ 2 จำนวน 50 เล่มx 40 บาท = 2,000 บาท,ปากกาจำนวน 50 ด้ามx 10 บาท = 500 บาท รวม 12,100บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 พฤษภาคม 2565 ถึง 6 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทีมควบคุมโรคมีความรู้ในการดำเนินงานพ่นละอองฝอยได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12100.00

กิจกรรมที่ 3 พ่นสารเคมีฤทธิ์ตกค้างกำจัดตัวแก่ของยุงก่อนการระบาดและหลังการระบาดของโรคในหมู่บ้าน และสถานที่ราชการ มัสยิด รร. อบต

ชื่อกิจกรรม
พ่นสารเคมีฤทธิ์ตกค้างกำจัดตัวแก่ของยุงก่อนการระบาดและหลังการระบาดของโรคในหมู่บ้าน และสถานที่ราชการ มัสยิด รร. อบต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พ่นสารเคมีฤทธิ์ตกค้างกำจัดตัวแก่ของยุงก่อนการระบาดและหลังการระบาดของโรคในหมู่บ้าน และสถานที่ราชการ มัสยิด รร. อบต ่ค่าจ้างเหมาพ่น วันละ 240 บาทx10 คน x10 วัน =24,000 บาท ค่าชุดป้องกันสารเคมี ชุดละ 300 บาทx 10 ชุด=-3,000 บาท รวม 27,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

พื้นที่ระบาดได้รับการพ่นละองฝอย ร้อยละ100 ทีมควบคุมโรคสามารถพ่นพ่นละองฝอย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27000.00

กิจกรรมที่ 4 อาสาสมัครมาลาเรียลงคัดกรองชาวบ้านที่สงสัยมีเชื้อมาลาเรียในกระแสเลือด

ชื่อกิจกรรม
อาสาสมัครมาลาเรียลงคัดกรองชาวบ้านที่สงสัยมีเชื้อมาลาเรียในกระแสเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อาสาสมัครมาลาเรียลงคัดกรองชาวบ้านที่สงสัยมีเชื้อมาลาเรียในกระแสเลือดใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น กับชาวบ้านในหมู่บ้าน พร้อมให้ความรู้เรื่องมาลาเรียและการป้องกันมาลาเรีย ค่าตอบแทนอาสาสมัครมาลาเรีย ลงพื้นที่
จำนวน 240 บาท x1 คน x 10 วัน= 3,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 เมษายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ชาวบ้านที่สงสัยมีเชื้อมาลาเรียได้รับการคัดกรองตรวจเช์ื้ในกระแสเลือดใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น พร้อมทั้งควาามรู้ในการดูแล และป้องกันมาลาเรีย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 47,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง


>