กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังของประชาชนตำบลตลิ่งชันในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตลิ่งชัน

1. นายเจะอาเรนบินหมัด ประธาน อสม.
2. น.ส.พรรณีย์ เจะหมะ กรรมการ
3. นางรอตีป๊ะหมะบ๊ะ กรรมการ
4. นางรอกิเย๊าะ มะเด กรรมการ
5. นาย รอเสะดุสะเหม๊าะ กรรมการ

ตำบลตลิ่งชัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนโครงการเขียนผ่านเวปไซด์กองทุนในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง

 

2.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

26.31
3 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

29.35

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการขียนผ่านเวปไซด์กองทุนในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง

จำนวนโครงการเขียนผ่านเวปไซด์กองทุนในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น

2.00 6.00
2 เพิ่มลดประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

26.31 25.00
3 เพิ่อลดประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

29.35 25.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 561
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะทำงาน 15
อสม.และเครือข่ายสุขภาพ 45

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/05/2022

กำหนดเสร็จ 31/07/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน
รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรบผู้เข้าร่วมประชุมและผู้ดำเนินงาน จำนวน 30 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
5 พฤษภาคม 2565 ถึง 5 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม
  • ผู้เข้าร่วมประชุมทราบข้อมูลและเห็นความสำคัญข้อมูลด้านสุขภาพของตนเองและหมู่บ้าน/ตำบล
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาและการจัดทำโครงการแก้ไขโรคเรื้อรังจากกองทุนตำบลผ่านเวปไซด์กองทุน สปสช.

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาและการจัดทำโครงการแก้ไขโรคเรื้อรังจากกองทุนตำบลผ่านเวปไซด์กองทุน สปสช.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. และเครือข่ายด้านสุขภาพ จำนวน 60 คน รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม วิทยากรและผู้ดำเนินงาน จำนวน 60 คน ๆละ 2 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม วิทยากรและผู้ดำเนินงาน จำนวน 60 คน ๆละ 50 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม จำนวน 2 คน ๆละ 5 ชั่วโมง ๆละ 600 บาทต่อคน เป็นเงิน 6,000 บาท
  • ค่าเอกสารการอบรม 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
9 พฤษภาคม 2565 ถึง 9 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจในการวิเคราะห์ปัญหา วางแผน และเขียนโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ ที่ดีและถูกต้อง
  • มีการวางแผนโรคเรื้อรังและมีโครงการแก้ไขโรคเรื้อรังในพื้นที่เพิ่มขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 3 การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่และการวางแผนแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังนพื้นที่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19

ชื่อกิจกรรม
การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่และการวางแผนแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังนพื้นที่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ศึกษาดูงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่และประชุมเชิงปฏิบัติการการวางแผนการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังในพื้นที่ จำนวน 60 คน จำนวน 2 วัน มีค่าใช้จ่ายดังนี้

  • ค่าเหมารถบัส จำนวน 1 คัน วันละ13,500 บาท รวม 2 วัน เป็นเงิน 27,000 บาท
  • ค่าเหมารตู้ปรับอากาศ 1 คัน วันละ 5,500 บาท รวม 2 วัน เป็นเงิน 11,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม จำนวน 2 คน ๆละ 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าเอกสารการอบรมเป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน ๆละ 5 มื้อ ๆละ 40 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
  • ค่าอาหาร จำนวน 60 คน ๆละ 4 มื้อ ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 24,000 บาท
  • ค่าที่พัก จำนวน 60 คน ๆละ 550 บาท เป็นเงิน 33,000 บาท
  • ค่าขอสมนาคุณสถานที่ศึกษาดูงาน 2 ชุด ๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.2*2.5 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤษภาคม 2565 ถึง 11 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • จำนวนผู้เข้าร่วมศึกษาดูงาน
  • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ที่ได้เพื่อการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
114300.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน มีรายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม
  • สรุปผลการดำเนินงาน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 128,550.00 บาท

หมายเหตุ :
*** ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นส่งผลให้ประชาชนความเสี่ยงจากโรคเรื้อรังลดลง


>