กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตั้งครรภ์ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา

หมู่ 1,2,3,6,9 ต.ยะหา อ.ยะหา จ.ยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เป็นปัญหาสำคัญที่จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ยังส่งผลต่อสุขภาพมารดาตั้งแต่ตั้งครรภ์และอาจส่งผลในระยะคลอดได้ สืบเนื่องจากสาเหตุหลายๆประการที่ส่งผลให้หญิงวัยเจริญพันธุ์เข้าสู่กระบวรการฝากครรภ์ช้า

 

75.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. จิตอาสา/อสม. มีความรู้ความเข้าใจความสำคัญในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่

ร้อยละ ๖0 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากัน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๖๐ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด ๕ ครั้งตามเกณฑ์

75.00 0.00
2 2.จิตอาสา/อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเยี่ยม หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง มารดา/ทารกหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงได้

ร้อยละ ๖๕ หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ ๓ ครั้งตามเกณฑ์

0.00
3 3. เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะเสี่ยงที่ป้องกันได้

ร้อยละ ๕๐ เด็กทารกแรกเกิด- ๖ เดือน กินนมแม่อย่างเ

0.00

2. มารดา/ทารกหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงสามารถดูแลตัวเองเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้นได้
3.เพื่อลดโอกาสการเกิดภาวะเสี่ยงที่ป้องกันได้
4. เพื่อชุมชนสามารถดูแลซึ่งกันและกันได้ และสามารถเข้าถึงการบริการได้สะดวกขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมอบรม ให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์เพื่อเตรียมความพร้อมตั้งครรภ์ในชุมชน 2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมอบรม ให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์เพื่อเตรียมความพร้อมตั้งครรภ์ในชุมชน 2. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.  กิจกรรมอบรม ให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์เพื่อเตรียมความพร้อมตั้งครรภ์ในชุมชน จำนวน 75 คน

-  ค่าอาหารกลางวัน 75 คน x 50 บาท x 1 มื้อ                                       เป็นเงิน 3,750   บาท
-  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 75 คน x 25 บาท x 2 มื้อ                เป็นเงิน 3,750   บาท -  ค่าสื่อวัสดุ อุปกรณ์    เป็นเงิน 1,000   บาท -  ไวนิล         เป็นเงิน 800   บาท 2.  กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน จำนวน 10 คน -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10 คน x 25 บาท x 2 มื้อ                       เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. จิตอาสา/อสม.มีความรู้และให้ความสำคัญในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และมีความครอบคลุมมากขึ้น
    1. ทีมจิตอาสา/อสม.มีความเข้าใจในการดูแลหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงได้
    2. ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงการบริการเชิงรุกถึงที่บ้านและมีความพึงพอใจต่อการรับบริการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. จิตอาสา/อสม.มีความรู้และให้ความสำคัญในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และมีความครอบคลุมมากขึ้น
2. ทีมจิตอาสา/อสม.มีความเข้าใจในการดูแลหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงได้
3. ประชาชนในชุมชนสามารถเข้าถึงการบริการเชิงรุกถึงที่บ้านและมีความพึงพอใจต่อการรับบริการ


>