กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกวาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกวาง

รพ.สต.บ้านกวาง

หมู่ 1 - 6 ตำบลบ้านกวาง อ.สูงเม่น จ.แพร่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

50.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

30.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

45.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

30.00 26.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

45.00 40.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 53.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเสวนาแกนนำส่งเสริมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเสวนาแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน)จำนวน 31 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาทเป็นเงิน775 บาท

-ค่าอาหารกลางวันจำนวน 31 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาทเป็นเงิน1,860 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำส่งเสริมสุขภาพมีความรอบรู่ด้านสุขภาพ และสามารถดำเนินกิจกรรมเพื่อติดตามดูแลประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2635.00

กิจกรรมที่ 2 เสวนากลุ่มเสี่ยงต่อ NCDs เพื่อพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) และทักษะการดูแลตนเอง

ชื่อกิจกรรม
เสวนากลุ่มเสี่ยงต่อ NCDs เพื่อพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) และทักษะการดูแลตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เสวนากลุ่มเสี่ยงต่อ NCDs เพื่อพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) และทักษะการดูแลตนเอง

ด้วยแนวทางในการเปลี่ยนแปลงตนเอง และประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขี้น โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชนโดยกิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ ( Health Literacy ) ประกอบด้วย

  • การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ

  • รู้และเข้าใจประเด็นเนื้อหา สาระด้านสุขภาพอย่างถูกต้อง ในการดูแลตนเอง

  • มีทักษะการสื่อสารด้านสุขภาพ

  • มีทักษะการจัดการตนเอง

  • รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ

  • มีทักษะการตัดสินใจเลือกปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

  • การออกกำลังเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง เพื่อการมีสุขภาพที่ดีขึ้น

งบประมาณ

-ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 × 4 เมตรจำนวน1ผืนๆละ 600 บาทเป็นเงิน600บาท

-ค่าอาหารกลางวัน (สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน) จำนวน 51 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 60บาท เป็นเงิน3,060 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน) จำนวน 51 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน1,275 บาท

-ค่าเอกสารความรู้ สำหรับกลุ่มเสี่ยงต่อ NCDs จำนวน 51 ชุด ๆละ 10 บาท เป็นเงิน 510 บาท

-ค่าแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) และทักษะการดูแลตนเอง ก่อนและหลังร่วมกิจกรรมจำนวน 100 ชุด ๆละ 2 บาท เป็นเงิน 200 บาท

-ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง  โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม  ไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง หรือ โรคเบาหวาน และมีสุขภาพดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8045.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเสริมพลังและติดตามพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเสริมพลังและติดตามพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ติดตามผลการเปลี่ยนแปลง โดยอสม. หมอครอบครัว  ทุกเดือน  ระยะเวลา 6 เดือน  และพัฒนากิจกรรมต่อเนื่องในชุมชน โดยประเมินจาก ระดับของการปฏิบัติตามแนวทาง HLของกลุ่มเป้าหมาย

  • ประชุมเสริมพลังและติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง จำนวน 2 ครั้ง

งบประมาณ

  -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน) จำนวน 51 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท  ( 2 ครั้ง ) เป็นเงิน 2,550 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงฯ ไม่เกิน ร้อยละ5.00

  • อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกิน ร้อยละ10.00

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2550.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมเสริมพลังและติดตามการดำเนินงานของแกนนำส่งเสริมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเสริมพลังและติดตามการดำเนินงานของแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเสริมพลังและติดตามการดำเนินงานในตำบลบ้านกวางของแกนนำส่งเสริมสุขภาพ  จำนวน 2 ครั้ง

เพื่อติดตามการดำเนินงานติดตามพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลบ้านกวาง

งบประมาณ

-  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน) จำนวน 31 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท ( 2 ครั้ง )    เป็นเงิน 1,550 บาท

-  ป้ายประชาสัมพันธ์บุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ขนาด 1.60 x 0.60 เมตร พร้อมโครงกรอบรูป จำนวน 2 ชุด ๆละ  600  บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงฯ ไม่เกิน ร้อยละ  5.00

  • อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกิน ร้อยละ  10.00

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,980.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมไม่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง หรือ โรคเบาหวานและมีสุขภาพดี

2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงฯ ไม่เกิน ร้อยละ5.00

3. อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกิน ร้อยละ10.00


>