กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังของประชาชนตำบลนาทับในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาเสมียน

1.นางสาวไหมสุนีย์หมัดหมัน ประธานชมรม
2.นางเสาด๊ะหมัดเล๊าะ กรรมการ
3.นายบุลเล๊าะห์เส็มโส๊ะ กรรมการ
4.นางร่อกี่ย๊ะยะหมันยะ กรรมการ
5.นางสาวอาสีส๊ะเส็นสะ กรรมการ

ตำบลนาทับ จำนวน14 หมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
จากสถานการณ์ปัญหาการเกิดโรคโควิท-19 ในพื้นที่ตำบลนาทับ ได้ส่งผลกระทบต่อปัญหาด้านเศรษฐกิจและด้านสุขของประชาชนในพื้นที่ตำบลนาทับ ที่เป็นปัญ คือกลุ่ม ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและทำให้การทำงานของ อสม.ในพื้นที่นั้นลำบากยิ่งขึ้น
ดังนั้นทางชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาเสมียนได้เห็นความสำคัญและจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้องรังของประชาชนตำบลนาทับในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เพื่อช่วยเหลือด้านสุขภาพของกลุ่ม ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในตำบลนาทับและเพื่อเพิ่มความรู้ ทักษะ ในการทำงานในพื้นที่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

ข้อที่ 1.เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการเขียนผ่านเวปไซต์กองทุนในการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/05/2022

กำหนดเสร็จ 31/07/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
1. เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชนิดกิจกรรม งบประมาณ    ระบุวัน/ช่วงเวลา 1.  เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน จำนวน 50 คน(กลุ่ม อสม.หมู่ละ 3 คนรวม 50 คน)  ค่าอาหารว่าง.25.บ.x50คน = 1250  บ
2 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาและการจัดทำโครงการแก้ไขโรค


เรื้อรังจากกองทุนตำบลผ่านเวปไซด์กองทุน สปสช.   รายละเอียดจำนวน 50 คน(กลุ่ม อสม.หมู่ละ 3 คน รวม 50 คน)  ค่าวิทยากร 600บ.x 1 คน x6 ชม.=  3600    บ. ค่าอาหารกลางวัน50บ.x 50 คน = 2500      บ. ค่าอาหารว่าง25บ.x50คน x2 มื้อ =2500      บ.
3 การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่และการวางแผนแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังพื้นที่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19(กลุ่ม อสม.หมู่ละ 3 คนรวม 50 คน)    ค่าเหมารถบัส จำนวน 1 คัน วันละ 13000
จำนวน 3 วัน  =   39000          บ. ค่าอาหาร 100 บ.x.50คน x.8 มื้อ = 40000      บ. ค่าอาหารว่าง25บ.x50คน x.6 มื้อ = 7500      บ. ค่าที่พักห้องละ 1500 x25ห้อง x2 คืน  =75000  บ.             
    รวม....................171,350..............บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 พฤษภาคม 2565 ถึง 4 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
171350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 171,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นส่งผลให้ประชาชนความเสี่ยงจากโรคเรื้อรังลดลง


>