โครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังของประชาชนตำบลนาทับในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังของประชาชนตำบลนาทับในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 |
รหัสโครงการ | 2565-L5181-002-002 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาเสมียน |
วันที่อนุมัติ | 25 เมษายน 2565 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 พฤษภาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2565 |
งบประมาณ | 171,350.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางใหมสุนีย์ หมัดหมัน |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายธนพรธ์ จรสุวรรณ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากสถานการณ์ปัญหาการเกิดโรคโควิท-19 ในพื้นที่ตำบลนาทับ ได้ส่งผลกระทบต่อปัญหาด้านเศรษฐกิจและด้านสุขของประชาชนในพื้นที่ตำบลนาทับ ที่เป็นปัญ คือกลุ่ม ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและทำให้การทำงานของ อสม.ในพื้นที่นั้นลำบากยิ่งขึ้น ดังนั้นทางชมรม อสม.รพ.สต.บ้านนาเสมียนได้เห็นความสำคัญและจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้องรังของประชาชนตำบลนาทับในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 เพื่อช่วยเหลือด้านสุขภาพของกลุ่ม ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในตำบลนาทับและเพื่อเพิ่มความรู้ ทักษะ ในการทำงานในพื้นที่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
2 - 4 พ.ค. 65 | 1. เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชน | 50 | 1,250.00 | - | ||
10 พ.ค. 65 | ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา การวางแผนแก้ไขปัญหาและการจัดทำโครงการแก้ไขโรค | 50 | 8,600.00 | - | ||
10 พ.ค. 65 - 31 ก.ค. 65 | การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่และการวางแผนแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังพื้นที่ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19(กลุ่ม อสม.หมู่ละ 3 คนรวม 50 คน) | 50 | 161,500.00 | - | ||
รวม | 150 | 171,350.00 | 0 | 0.00 |
ประชาชนมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นส่งผลให้ประชาชนความเสี่ยงจากโรคเรื้อรังลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 พ.ค. 2565 00:00 น.