กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางแม่นาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางแม่นาง

1.นายอนุรักษ์ ผิวผ่อง

พื้นที่ตำบลบางแม่นาง 12 หมู่บ้าน ( 1, 2, 3, 5, 6, 12, 13, 14, 15, 16, 17 และ 18 ) ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บางแม่นาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนภาวะแทรกซ้อนทางไต

 

36.05

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ดูแล หรือ ผู้ป่วยโรคไต มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไตเรื้อรังสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติ เพื่อป้องกันการชะลอการเกิดไตวายระยะสุดท้าย

ห้ผู้ดูแล หรือ ผู้ป่วยโรคไต  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคไตเรื้อรัง ร้อยละ80

80.00
2 เพื่อลดอุบัติการณ์เกิดภาวะไตเรื้อรังระยะสุดท้าย

อุบัติการณ์เกิดภาวะไตเรื้อรังระยะสุดท้ายลดลง ร้อยละ 50

50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
ขั้นเตรียมการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 จัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานทราบ 1.2 สำรวจ และจัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่มีค่าไตอยู่ในระยะ 3 ระยะ4 และระยะ 1.3 ประสานทีมวิทยากรในการจัดกิจกรรมอบรม 1.4 ประสานสถานที่ในการจัดกิจกรรม และกำหนดวัน เวลา ในการดำเนินการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการกิจกรรมการอบรม ให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
ขั้นดำเนินการกิจกรรมการอบรม ให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ภาคเช้า (กิจกรรมอบรมให้ความรู้)
- ทำความรู้จักกับโรคไตเรื้อรัง และปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคไตเรื้อรังจำนวน1.5ชั่วโมง - แนวทางการดูแลตนเองที่ถูกต้อง และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคไตเรื้อรังจำนวน1.5 ชั่วโมง ภาคบ่าย(กิจกรรมกลุ่ม) จำนวน3 ชั่วโมง - ฐานที่ 1 การคำนวณค่าไตด้วยตนเอง ( CKD RISK ) - ฐานที่ 2 สาธิตอาหารรสเค็ม - ฐานที่ 3 เรียนรู้ฉลากโภชนาการ - ฐานที่ 4 การเรียนรู้ แอพิเคชั่น

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 กรกฎาคม 2565 ถึง 4 กรกฎาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

หลังกิจกรรมการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้มากกว่าร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16570.00

กิจกรรมที่ 3 ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ขั้นสรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,570.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตระหนักถึงความสำคัญของโรค และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2. ญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้การดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนใน อนาคต


>