กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนาท่ามใต้ร่วมใจต้านภัย Covid-19

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

ชมรม อสม.ตำบลนาท่ามใต้

1.นางน้องนุช หนูนาค
2.นางจรัส ชอบชูผล
3.นางกันยา อ่อนสนิท
4.น.ส.สุคนธ์ จันทร์เพชร
5.นางปราณี นานอน

ตำบลนาท่ามใต้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง

 

80.00
2 ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

 

100.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา

 

50.00

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
นับตั้งแต่เกิดการระบาด (Outbreak) ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ที่เมืองอู่ฮั่นของสาธารณรัฐประชาชนจีนหลังจากนั้นได้มีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมากทั้งในประเทศจีนและหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยจนทำให้การระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 กลายเป็นโรคระบาด (Epidemic) อย่างเต็มรูปแบบจนกระทั่งวันที่ 11 มีนาคม 2563 องค์การอนามัยโลกได้ออกมาประกาศอย่างเป็นทางการถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ได้กลายเป็นการระบาดใหญ่ (Pandemic)
ปัจจุบันเป็นเวลากว่า 2 ปี 2 เดือน ที่โลกต้องรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวหลายประเทศทั่วโลกกำลังเฝ้ารอการกลายเป็น “โรคประจำถิ่น (Endemic)” ของเชื้อไวรัสCOVID-19 ซึ่งเป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึงการสิ้นสุดของการระบาดใหญ่
“โรคประจำถิ่น” เป็นโรคที่เกิดขึ้นประจำเฉพาะบริเวณพื้นที่นั้น ๆ มีการแพร่กระจายในระดับต่ำและสามารถคาดเดาอัตราการติดเชื้อได้ เช่น โรคไข้เลือดออก เป็นต้น The Economist (2021) ระบุว่าการระบาดเฉพาะถิ่นเกิดขึ้นเมื่ออัตราการแพร่ระบาดอยู่ในระดับคงที่และคาดการณ์ได้แต่การติดเชื้ออาจเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้การติดเชื้อจะเข้าสู่ดุลยภาพ (Equilibrium) ที่อัตราการติดเชื้อของประชากรมีแนวโน้มลดลงในระดับเดียวกับโอกาสในการแพร่เชื้อและภาวะดุลยภาพจะต่ำลงด้วยการฉีดวัคซีน
ทั้งนี้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกลายเป็นโรคประจำถิ่นและการแพร่กระจายเชื้อที่แต่ละประเทศจะต้องเผชิญขึ้นอยู่กับ (1) สัดส่วนของประชากรที่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัส คุณภาพ และความทนทานของภูมิคุ้มกันที่มี (2) ความสามารถในการดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ และ (3) การกลายพันธุ์ของไวรัส
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาท่ามใต้ จึงได้จัดทำ โครงการ นาท่ามใต้ร่วมใจ ต้านภัย COVID-19” ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการการรองรับโรคประจำถิ่น และสร้างมาตรการเพื่อรองรับและป้องกันผลกระทบของ COVID 19 ในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

ร้อยละของที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง

80.00 60.00
2 เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น

ร้อยละของสถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19

100.00 4.00
3 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง

50.00 4.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ “นาท่ามใต้ร่วมใจ ต้านภัย COVID-19”ขนาด 1x2 ม. ตร.ม.ละ 150 บ.=300 บาท
  • ค่าอาหารว่างและอาหารกลางวัน 60 คนๆละ 300 บ./มื้อ = 18,000 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน ๆ ละ 1 ชม.ๆ ละ 600 บ. = 2,400 บาท
  • ค่าถ่ายเอกสาร วัดความรู้/ จำนวน 60 ชุดๆละ 5 บ.=300 บาท -ปากกาลูกลื่นจำนวน 60 ด้ามๆละ 10 บ.= 600 บาท -กระดาษหมูย่าง 10 แผ่นๆละ 10 = 100 บ. -ปากกาเคมี 8 ด้ามๆละ 25 บ. 200 บ.
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำมีความรู้ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21900.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เครื่องเทอร์โมแสกนเครื่องละ 1,500 บ./4 เครื่อง= 6,000 บาท - เจลแอลกอฮอล์ล้างมือ 480ml5 หลอดๆละ190บ.=950 -หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ 3M5กล่องๆละ125บ.=625บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

. มีแนวทางและมาตรการรองรับโรคประจำถิ่นในชุมชน
ลดผลกระทบที่เกิดจากภาวะ Long covid

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7575.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 29,475.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 แกนนำหมู่/อสม.มีความรู้
2. มีแนวทางและมาตรการรองรับโรคประจำถิ่นในชุมชน
3 ลดผลกระทบที่เกิดจากภาวะ Long covid


>