กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
อสม.รณรงค์คัดกรองหาสารเคมีในเกษตรกร หมู่ที่ 7 เขตเทศบาลตำบลบ้านสวน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน ม.7 ต.มะกอกเหนือ
กลุ่มคน
1.นางบุญเรือน เกลี้ยงหวาน 0980362309
2.นางเยาวเรศ พูลปาน
3.นางเสาวรัตน์ ปล่องลม
4.นางบุญน้อม เนียมทอง
5.นางจำนงค์ ฉันทกุล
3.
หลักการและเหตุผล

ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย ปัจจุบันมีการใช้สารเคมีในกลุ่มเกษตรกรเป็นจำนวนมากและแพร่หลาย บางครั้งพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้น เช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือจะไปทำลาย อวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้ สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็งโรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน รวมทั้ง
ประชากรในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 7 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ใน การเกษตรมากถึงร้อยละ80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำนา สวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน ปลูกพืชผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้างและยังไม่ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยง ผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรว่าอยู่ในระดับใด ประกอบกับเกษตรกรในพื้นที่ ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธี และขาดความรู้จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 7ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ จัดทำโครงการ อสม.รณรงค์ลดการใช้สารเคมีในเกษตรกรขึ้น เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ ได้ตระหนักถึงอันตรายของสารเคมีที่อาจตกค้างในผักชนิดต่างๆ มีผลทำให้เกิดมีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของผู้บริโภค และจะได้มีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ประโยชน์และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ประโยชน์และโทษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 39.19 เป้าหมาย 28.50
  • 2. 2.เกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด โดยเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.
    ตัวชี้วัด : 2.เกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเลือด ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 15.50 เป้าหมาย 12.50
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าอนามัย,อสม.และผู้ใหญ่บ้าน ม.7 จำนวน 6 คน
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทำงานโครงการและชี้แจงโครงการแก่คณะทำงาน

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. รอบรู้สารเคมีในเกษตรกร
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรเรื่องการใช้สารเคมี การลดการใช้สารเคมี โทษของสารเคมี การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน เป็นต้น
    1. ค่าวิทยากรให้ความรู้ 4 ชมๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
    2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(สำหรับผู้เข้าอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่) 55 คนๆละ 25 บาท รวม 1 มื้อ เป็นเงิน 1375 บาท
    3.ค่าเอกสารความรู้-ความเข้าใจ การใช้สารเคมีก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ 100 ชุด เป็นเงิน 100 บาท 4.ไวนิลโครงการ ขนาด 1.2*3 ม. ตารางเมตรละ 180 บาท เป็นเงิน 648 บาท ทุกรายการถัวเฉลี่ยกันได้

    งบประมาณ 4,523.00 บาท
  • 3. ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่1
    รายละเอียด

    ชุดตรวจสารเคมีในเลือด จำนวน 2 ชุด ชุดละ 3,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท (ชุดตรวจเคมี 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งที่ 1 เป็นเวลา 1 เดือน) -ตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ครั้งที่ 1

    งบประมาณ 6,000.00 บาท
  • 4. ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่2
    รายละเอียด

    -ตรวจหาสารเคมีในเลือดเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายโดยเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ครั้งที่ 2

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. กิจกรรมรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษใช้บริโภคในครัวเรือน
    รายละเอียด

    1.เมล็ดพันธ์พืช-เมล็ดคะน้า 30 กระป๋อง เมล็ดกวางตุ้ง 30 กระป๋อง เมล็ดผักกาดขาว 30 กระป๋อง ราคากระป๋องละ 35 บาท เป็นเงิน 3150 บาท 2.ถุงปลูกผัก ขนาด 8*15 นิ้ว (32ใบ/1 กิโลกรัม) จำนวน 6 แพ็คๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1500 บาท 3.ดินปลูกผัก จำนวน 120 ถุง ราคาถุงละ 20 บาท เป็นเงิน 2400 บาท

    งบประมาณ 7,050.00 บาท
  • 6. สรุปโครงการและถอดบทเรียนคืนข้อมูล
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทำงานสรุปโครงการและถอดบทเรียนการทำงาน - ค่าจัดทำรูปเล่มรายงาน สปสช 1 เล่ม ค่าวัสดุอุปกรณเป็นเงิน 200 บาท

    งบประมาณ 200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 7 เขตเทศบาลตำบลบ้านสวน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 17,773.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการถัวเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เกษตรกรได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันอันตรายจากสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 2.เกษตรกรทราบอันตรายของสารเคมี ลดพฤติกรรมการใช้สารเคมีลง 3.เกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้าง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัส กปท. L3325

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 17,773.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................