กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจโรคตรวจใจห่างไกลความดันและเบาหวาน ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่

พื้นที่ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

90.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

20.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

30.00

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคใกล้ตัวที่ไม่ต้องรอให้มีอายุถึง 60 ปี ก็สามารถเป็นได้แล้วในปัจจุบันเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นตลอดชีวิต หากไม่ได้รับการรักษาหรือได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง ก็จะเป็นอันตรายต่อชีวิตผู้ป่วย จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าคนไทยที่มีความดันโลหิตสูงจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ประมาณ 3.7 เท่าของผู้ที่มีความดันโลหิตปกติและยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตวาย โรคหลอดเลือกสมอง โรคหลอดเลือกส่วนปลาย และภาวะหัวใจล้อมเหลวผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเกือบครึ่งหนึ่งจะตายด้วยโรคหัวใจ ส่วนโรคเบาหวาน จะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะตาบอดไตวาย การถูกตัดอัวยะ เป็นต้นปัญหาของผู้ป่วยโรความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่พบบ่อยที่สุด คือการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ยังพบการบริโภาคอาหารที่มีรสเค็มมัน และหวานสาเหตุ คือ ความเคยชินต้องประกอบอาหชีพนอกบ้านไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเองจึงหาซื้ออาหารสำเร็จรูป รวมถึงขาดการออกกำลังกายและไม่สามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกหลังได้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ส่งผลให้ร่างกายผิดปกติและอาจเป็นโรคดังที่กล่าวมาในระยะเวลาถึง 5 ปี
จากการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในเขตตำบลกาหลงในปี 2564 พบกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสป่วยเป็นโรคความดังโลหิตสูง จำนวนมากกว่า 50 ราย่ และกลุ่มเสี่ยงที่มีค่าน้ำตาลตรวจปลายนิ้ว มากกว่า 126 mg% จำนวนมากกว่า 212/80 ราย ซึ่งเพิ่มจากปี 2563 คิดเป็นร้อยละ 5.6/9.5 ตามลำดับ ดังนั้นผู้รับผิดชอบงานโรคติดต่อไม่เรื้อรังประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่ จึงได้จัดทำโครงการตรวจโรคตรวจใจห่างไกลความดันและเบาหวาน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ขึ้น เพื่อส่งเสริมในการดูแลกลุ่มเป้าหมายต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

90.00 1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

20.00 1.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

20.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/12/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน ตัวแทนหมู่บ้าน และ อสม. และตรวจคัดกรองสุขภาพ เพื่อแกนนำด้านสุขภาพและเตรียมความพร้อมในการดูแลกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเจ้าหน้าที่ ผู้นำชุมชน ตัวแทนหมู่บ้าน และ อสม. และตรวจคัดกรองสุขภาพ เพื่อแกนนำด้านสุขภาพและเตรียมความพร้อมในการดูแลกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่าง (เช้า) จำนวน 30 คน 25 บาท 1 มื้อ  เป็นเงิน 750 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน 60 บาท 1 มื้อ  เป็นเงิน 1,800 บาท
-ค่าอาหารว่า (บ่าย) จำนวน 30 คน 25 บาท 1 มื้อ  เป็นเงิน 750 บาท รวมเป็นเงิน 3,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดัน เบาหวานจะได้คัดกรองและดูแลได้ทันท่วงที ลดปัญหาการเกิดโรคได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3300.00

กิจกรรมที่ 2 คัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในตำบลกาหลง จำนวน 4 หมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในตำบลกาหลง จำนวน 4 หมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่าง 25 บาท 400 คน 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท
-ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องละ 2,500 บาท 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท -ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x3 เมตร เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 13,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับการคัดกรอง
ลดปัญหาต่อโรคความเสี่ยงเรื้อรัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13500.00

กิจกรรมที่ 3 นัดผู้ป่วยที่เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตรวจซ้ำในสถานบริการ และอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ชื่อกิจกรรม
นัดผู้ป่วยที่เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานตรวจซ้ำในสถานบริการ และอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่าง (เช้า) 25 บาท 30 คน 1 มื้อ เป็นเงิน 750 บาท
-ค่าอาหารเที่ยง 60 บาท 30 คน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,800 บาท
-ค่าอาหารว่าง (บ่าย ) 25 บาท 30 คน 1มื้อ เป็นเงิน 750 บาท รวมเป็นเงิน 3,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงได้รับการดูรักษาได้ทันท่วงที่ ลดปัญหาการเรื้อรัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 90
2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนและไดรับความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 100
3.เกิดชุมชนต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย 1 หมู่บ้าน


>