กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง รหัส กปท. L4155

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการใส่ใจผู้สูงอายุด้วยการดูแลที่ถูกวิธี ประจำปี 2565
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
รพ.สต.กาลูปัง
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรที่กำลังได้รับความสนใจในสังคมโลกปัจจุบัน คือ โครงสร้างของประชากรที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging Society) จากข้อมูลประชากรโลกได้แสดงให้เห็นว่าในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมาประชาการผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น โดยมีสาเหตุมาจากอัตราการตายและอัตราการเจริญพันธุ์ลดลง (United Nation 2006) เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2552) ได้เสนอความคิดว่าจากที่สำนักงาน สถิติแห่งชาติได้รายงานผลการศึกษาสถานการณ์ประชากรโลกและประชากรไทย พบว่า จำนวนประชากรโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในปี พ.ศ. 2550 มีประชากรทั่วโลก 6,605 ล้านคน แต่ในปี พ.ศ. 2580 ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 8,725.7 ล้านคน ทวีปเอเชียจะมีประชากรมากที่สุดโดยประเทศจีนและอินเดียจะมีประชากรมากเป็นอับ 1 และ 2 ของโลกตามลำดับ ปัจจุบันประเทศไทยมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 14.7 (9.5 ล้านคน) และคาดว่าในปี พ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินร้อยละ 20 (14.4) นั่นหมายถึง ประเทศไทยได้เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพ โดยพบว่าโรคที่ทำให้ผู้สูงอายุสูญเสียสุขภาวะ 5 อันดับแรกในผู้สูงอายุชาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวาน และโรคมะเร็งตับ สำหรับผู้สูงอายุหญิง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุดูแลตนเองไม่ได้เลย 63,000 คนหรือร้อยละ 0.9 โดยพิจารณาจากความสามารถในการดูแลตนเองทำให้ทราบว่าผู้สูงอายุมีภาวะที่ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือ (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2557: 1) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลาซึ่งเป็นหน่วยงานบริการสุขภาพปฐมภูมิมีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1, 2, 3 และ 4 มีประชากรทั้งหมด 3,172 คน (ฐานข้อมูลประชากรกลางปี มิถุนายน 2562) มีผู้สูงอายุ จำนวน 347 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10.93 และจากรายงานข้อมูลแสดงภาวะสุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2562 ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน พบว่ามีผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 341 คน คิดเป็นร้อยละ 98.27 ผู้สูงอายุติดบ้าน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.15 และผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.28(โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา, 2562) วัยผู้สูงอายุมักจะเจ็บป่วยได้ง่ายเนื่องจากความเสื่อมตามสภาพร่างกาย โรคที่พบได้บ่อยได้แก่ โรคระบบกล้ามเนื้อโครงร่างและกระดูกซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการประกอบอาชีพและการเจ็บป่วย จากสภาวะข้อเสื่อมในผู้สูงอายุ และสุขภาพช่องปาก
ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จะเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี และที่สำคัญ คือการมุ่งลดความเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุ และเป็นขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีอายุที่ยืนยาวโดยไม่ถูกทอดทิ้งมีภาคีเครือข่ายดูแลตลอดเวลา จึงทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม 2. ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุได้รับการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Activitives of Daily Living :ADL) 3. เพื่อแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุโดยการเยี่ยมบ้านตามแผน 4. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการรักษา และส่งต่อ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. คัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
    รายละเอียด
    1. ดำเนินการคัดกรองสุขภาพสุขภาพเบื้องต้นและสุขภาพช่องปากแก่ผู้สูงอายุ โดยใช้แบบประเมิน Mini Cog / 2Q
      1. จัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุระดับตำบลมีการดำเนินการดูแลสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ
      2. มีการพัฒนาศักยภาพ อสม. จิตอาสาดูแลผู้สูงอายุครอบคลุมทุกพื้นที่ให้มีความรู้เพียงพอต่อผู้สูงอายุและครอบครัวอบรมเชิงปฏิบัติการ 4.ให้ความรู้กับผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ในการดูแลสุขภาพตนเองให้เป็นผู้สูงอายุที่พึงประสงค์
      3. กิจกรรมติดตามการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโดยทีมสุขภาพและเครือข่ายมีการประเมินปัญหาของผู้สูงอายุให้ความรู้เฉพาะด้านในการดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยที่บ้านแก่ญาติ ผู้ดูแล มีระบบส่งต่อและติดตาม 6.ร่วมจัดกิจกรรมกับองค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปัง ในวันผู้สูงอายุประจำปี งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ............ตำบลกาลูปัง.................................
        จำนวน .....10,000.......... บาท (....หนึ่งหมื่นบาทถ้วน.............) รายละเอียด  ดังนี้ 1  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คนๆ ละ2 มื้อ25 บาท เป็นเงิน  ....3,500.............  บาท 2  ค่าอาหารกลางวันจำนวน 70คนๆ ละ 1 มื้อ70 บาท เป็นเงิน  .....4,900............  บาท 3  ค่าวิทยากร  1 ท่าน 400 บาท/ ชม *4 ชม เป็นเงิน  .....1,600.............  บาท
    งบประมาณ 10,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

รพ.สต.กาลูปัง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.คืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและเกิดภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม 2. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Barthel Activitives of Daily Living :ADL) 3. ผู้สูงอายุได้รับการแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุจากการเยี่ยมบ้านตามแผน 4. อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่.

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง รหัส กปท. L4155

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง รหัส กปท. L4155

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................