กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก รหัส กปท. L3330

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน
3.
หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)กระทรวงสาธารณสุขยังคงเน้นย้ำในแถลงการณ์ให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการในการป้องกันตนเองเพื่อชะลอการระบาดของ โควิด-19 โดยใช้มาตรการ DMHTT คือ อยู่ห่างไว้ (Distancing: D) ใส่มาสก์กัน (Mask Wearing: M) หมั่นล้างมือ (Hand Washing: H) ตรวจให้ไว (Testing: T) และใช้ไทยชนะ (Thai Cha na: T) โดยมาตรการหนึ่งที่สำคัญเน้นย้ำ คือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า เพื่อเพื่อป้องกันการสัมผัสและลดการฟุ้งกระจายของละอองฝอยจากการพูด ไอ จาม ทั้งนี้ หน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจัดได้ว่าเป็นขยะติดเชื้อ ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วปนเปื้อนด้วยเสมหะ น้ำลาย น้ำมูกของบุคคลผู้ใช้ และอาจยังปนเปื้อนเชื้อโรคจากบุคคลที่ป่วย หรือผู้เป็นพาหะนำโรคได้ ถ้าหากหน้ากากอนามัยเหล่านี้ไม่ได้รับการคัดแยกอย่างถูกวิธี ถูกทิ้งปะปนกับขยะชุมชน จะส่งผลให้พนักงานที่ทำหน้าที่เก็บขนขยะมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อโควิด 19 และเมื่อขยะถูกนำไปกำจัดด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เช่น เทกองกลางแจ้ง ก็อาจเพิ่มโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชนทั้งทางน้ำและทางอากาศ นอกจากหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของพนักงานเก็บขยะและคนในชุมชนแล้ว ปริมาณขยะหน้ากากอนามัยแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งที่จัดการไม่ถูกต้องยังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากหน้ากากอนามัยมีองค์ประกอบที่ผลิตจากวัสดุที่ ย่อยสลายยาก เช่น โพลีโพรไพลีน (Polypropylene : PP) ซึ่งเป็นพลาสติก ชนิดหนึ่งที่นำมาขึ้นรูปให้เป็นเส้นใยสังเคราะห์แล้วทอให้เป็นแผ่น รวม ไปถึงลวดสำหรับปรับให้เข้ากับโครงจมูกก็ทำมาจากแผ่นพลาสติกขนาดเล็ก หรือลวดโลหะอะลูมิเนียมซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน้ากากอนามัย ข้อมูลการรวบรวมปริมาณขยะหน้ากากอนามัยใช้แล้ว ที่กรมควบคุมมลพิษ สำรวจผ่านทางสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน - 31 ธันวาคม 2563 จากทั้งหมด 2,690 แห่ง มีปริมาณขยะ 17.89 ตัน ซึ่งมีการนำหน้ากากอนามัยไปทิ้งในบ่อฝังกลบทั่วไป ร้อยละ 25 เผาในเตาขยะติดเชื้อร้อยละ 9 จ้างเอกชนรับกำจัดร้อยละ 8 และรวบรวมให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำจัดถูกวิธีเพียงร้อยละ 51 ดังนั้น มาตรการที่สำคัญในการจัดการขยะติดเชื้อ ควรเน้นการจัดการขยะที่ต้นทาง คือ การสร้างความตระหนักและให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับวิธีการทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธี โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงกรุงเทพมหานครได้ออกมา ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนว่าสามารถทิ้งหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้วอย่างถูกวิธีได้อย่างไรรวมทั้งประชาสัมพันธ์และขอความร่วมมืออย่างจริงจังให้ประชาชนคัดแยกและทิ้งหน้ากากอนามัยให้ถูกวิธี โดยแนะนำให้ประชาชนนำหน้ากากอนามัยที่ใช้แล้ว พับ บรรจุใส่ถุงที่ปิดสนิท มัดปากถุงให้แน่น พร้อมและเขียนหรือติดหน้าถุงว่า “หน้ากากอนามัย” เพื่อจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีต่อไป
ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากขยะติดเชื้อประเภทหน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้า ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ในการทิ้งหน้ากากอนามัยและหน้ากากผ้าอย่างถูกวิธี ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสนจึงจัดทำโครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม ใส่ใจชุมชน (การจัดการขยะติดเชื้ออันตราย) ชมรม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2565 เพื่อลดโอกาสที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายไปยังคนในชุมชน ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งลดผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจถึงการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อให้ ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ
    รายละเอียด

    จัดประชุมชี้แจงโครงการ ให้ผู้นำชุมชน / อสม ทราบ

    งบประมาณ 600.00 บาท
  • 2. จัดประชุมให้ความรู้ เรื่องการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย แก่ ผู้นำชุมชน อสม และประชาชน โดยจัดแบ่งเป็นรุ่น จำนวน 3 รุ่น
    รายละเอียด

    รุ่นที่ 1  อสม.  ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 4 บ้านต้นสน  (1 กค 65) - ค่าอาหารว่าง 20 บ.x 60 คน x 2 มื้อ
    - ค่าอาหารกลางวัน 60บ.x 60คน x1มื้อ
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร 300 บ.x 6ชม.
    รุ่นที่ 2 อสม.  ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 8 บ้านทุ่งโต๊ะหย๊ะ ( 4 กค 65 ) - ค่าอาหารว่าง 20 บ.x 60 คน x 2 มื้อ
    - ค่าอาหารกลางวัน 60บ.x 60คน x1มื้อ
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร 300 บ.x 6ชม.
    รุ่นที่ 3 ผู้นำชุมชน และประชาชน หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งนายพัน (5 กค 65) - ค่าอาหารว่าง 20 บ.x 60 คน x 2 มื้อ
    - ค่าอาหารกลางวัน 60บ.x 60คน x1มื้อ
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร 300 บ.x 6ชม. ค่าวัสดุจัดประชุมให้ความรู้
    - ค่าป้ายไวนิลความรู้ 500บ. x 4ป้าย
    - ค่าป้ายไวนิลโครงการ500บ. x 1ป้าย

    งบประมาณ 30,620.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 27 มิถุนายน 2565 ถึง 5 กรกฎาคม 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นสน หมู่ที่ ๑๓ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 31,220.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ทุกรายการตามความเหมาะสม

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะ โดยยึดหลัก 3 Rs ครัวเรือน/ชุมชน มีการคัดแยกและมีการจัดการขยะติดเชื้ออันตราย อย่างถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก รหัส กปท. L3330

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก รหัส กปท. L3330

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 31,220.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................