กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก

ประธานชมรมอสม.ตำบลรือเสาะออก

สถานที่ส่วนราชในอำเภอรือเสาะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญที่มีแนโน้มอัตราความซุกของโรคและ
ราตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น ภาวะแทรกช้อนเกิได้ทั้งภาวะเฉียบพลันและเรื้อรังโดยเฉ
ทรกจ้อนที่เกิดจากระบบหลเวียนโลหิตและระบบประสาท เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โร
หิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต จอประสาทตาเสื่อม และการเกิดแผลที่เท้า โดยผู้ป่วยโ
มีความเสี่ยงในการเกิดแผลถึง ๑๓ เท่า มีโอกาสเกิดแผลที่เท้าซ้ำได้ถึงร้อยละ ๖0 เสี่ยงต่อการถูกตัดขา
กว่าผู้ป่วยที่ไม่เป็นเบาหวานถึง ๒๕ เท่า และร้อยละ ๗ㆍ ของการถูกตัดขามีสาเหตุมาจากโรคเบ
ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตระยะยาวและค่าใช้จ่ายในการทำขาเทียมของผู้ป่วยต่อไป
จากการสำรวจข้อมูลผู้รับบริการ พบว่า ประชากรตำบลรือเสาะออกเป็นผู้ป่วย
โรคเบาหวานจำนวน ๒๘๕ คน โดยมีแผลเบาหวานที่เท้าจำนวน ๓๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙๓ บางราย
รักษาแผลเบาหวานด้วยตัวเอง เช่น ซื้อยาสมุนไพรมาทาจนแผลอักเสบและต้องใช้เวลาในการรักษานาน
และจากการสอบถาม พบว่า ผู้ป่วยบางคนไม่ได้รับการคัดกรองเบาหวานที่เท้า รวมทั้ง อสม. ผู้ป่วย และ
ผู้ดูแลขาดความรู้และทักษะในการคัดกรองเท้าและการปฏิบัติตัวในการป้องกันการเกิดแผลเบาหวานที่
ถูกต้อง รวมทั้งบางรายมีปัญหาด้านปัจจัยต่าง ๆ เช่น การมองเห็นและไม่ถนัดที่จะปฏิบัติด้วยตนเอง
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขต อบต. รือเสาะออก ได้เล็งเห็นถึง
ความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดโครงการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อส่งเสริม
ความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านให้สามารถคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อนที่เท้าเบื้องตันของผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างเหมาะสม เพื่อประโยชน์ในการควบคุม และ
ชะลอการดำเนินของโรค ลดการเกิดแผลที่เท้า และการสูญเสียอวัยวะ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

๑) เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ดูแล และ อสม.ในการ
ป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า
๒) เพื่อส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ดูแล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ
หมู่บ้านในการป้องกันแผลเบาหวานที่เท้า

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 30/05/2022

กำหนดเสร็จ 27/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
โครงการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าผู้ป่วยโรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ ขั้นเตรียมการ ๑) สำรวจปัญหาในการจัดโครงการ ๒) เขียนและเสนอโครงการ โครงการนี้จัดขึ้นโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุน ระบบหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะออกเพื่อเบิกใช้งบประมาณในการจัดโครงการ ๓) ประสานชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อขี้แจงวางแผน และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในโครงการ 4)ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมความรู้และทักษะในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน 5) สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ขั้นดำเนินการ ๑) ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ดูแล และ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ๒) เปิดโครงการป้องกันการเกิดแผลที่เท้าผู้ป่วยโรคเบาหวาน ๓) ประเมินก่อนเข้าร่วมโครงการ ๔) บรรยายให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ๕) บรรยายให้ความรู้ ชมวีดีทัศน์ และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจากประสบการณ์ตรง เกี่ยวกับแผลที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ๖) จัดกิจกรรมจำลองภาวะแทรกซ้อนจากแผลเบาหวานที่เท้า กรณี "พิการจากถูกตัดขา เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจให้เห็นถึงความสำคัญในการดูแลเท้า ๗) จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการดูแลเท้าโดยมีรายละเอียดกิจกรรมดังนี้ - การคัดกรองภาวะแทรกช้อนเท้าจากโรคเบาหวาน - แจกนวัตกรรมชุดดูแลเท้าสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ประกอบด้วย กะละมัง กรรไกรตัดเล็บชนิดหน้าตัดตรง โลชันบำรุงเท้า กระจกบรรจุในกระเป๋า คู่มือการดูแลเท้า - สาธิตวิธีการดูแลเท้า ประกอบด้วย การแช่เท้าด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน การคัดกรอง เท้า การตัดเล็บ การบริหารและนวดเท้า - ปฏิบัติการฝึกทักษะการดูแลเท้าโดยใช้ชุดดูแลเท้าสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ๘) แลกเปลี่ยนสะท้อนคิดกิจกรรม ๙) ประเมินผลหลังการเข้าร่วมโครงการ งบประมาณ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะออก ข้อ ๑๐ (๑) สนับสนุนกิจกรรมสร้างสุขภาพการป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชนหน่วยงานอื่น รายละเอียด ดังนี้ กิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมความรู้และทักษะในการป้องกันการเกิดแผล ที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน - ค่าอาหารกลางวัน ๕0.-บ. x ๖๐ คน x ๑ วัน เป็นเงิน ๓,๐๐๐.-บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕-บ. X ๒ มื้อ x๖๐ คน x ๑ วัน เป็นเงิน ๓,๐๐๐.-บาท - ค่าวิทยากร ๖๐๐.-บ.x ๒.๕ ชม.x ๒ คน x ๑ วัน เป็นเงิน ๓,๐๐๐.-บาท - ค่าป้ายไวนิล เป็นเงิน ๑,๕๐๐.-บาท - ค่าอุปกรณ์ชุดดูแลเท้า ๑๕๐.-บ. X ๓๐ เซต เป็นเงิน ๔,๕๐๐.-บาท รวมเป็นเงิน ๑๕,๐๐๐.-บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๕,0๐๐.- บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) หมายเหตุ กลุ่มเป้าหมายและค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
30 พฤษภาคม 2565 ถึง 27 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑) ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ดูแล และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้และ
ทักษะในการป้องกันการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า
๒) การเกิดภาวะแทรกซ้อนและถูกตัดอวัยวะจากการเกิดแผลเบาหวานที่เท้าลดลง


>