กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน รหัส กปท. L5240

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลท่าหิน ปี2565
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งทีทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน พบว่าปัญหาไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา จากข้อมูล รง.506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่ 1มกราคม2564-31ตุลาคม2564พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 8396 ราย อัตราป่วย 12.64 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต6ราย อัตราป่วยตายรายละ 0.01 จังหวัดสงขลา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา(รง.506)สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 - 31 ตุลาคม 2564 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 68 ราย คิดเป็นอัตราการป่วย 4.74 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ กลุ่มอายุ 10-14 ปี ร้อยละ 20.53 รองลงมา 5-9 ปี ร้อยละ 18.27 และพบมากที่สุดในกลุ่มนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 55.60 รองลงมา คือ อาชีพรับจ้าง ร้อยละ 15.03 อำเภอสทิงพระ ก็เป็นอำเภอหนึ่งที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1มกราคม2564-31ตุลาคม2564 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2.04 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตำบลท่าหิน ตั้งแต่ปี2560จนถึง2564 พบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 2,1,1,1และ0 รายตามลำดับ อัตราป่วย 81,70,40.85,36.38,38.64และ0.00 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ซึ่งตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้ไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน และจากข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสทิงพระ ตั้งแต่วันที่ 1มกราคม2564-31ตุลาคม2564 ตำบลท่าหิน ไม่พบผู้ป่วยไขเลือดออก จากสถานการณ์ภาพรวม คาดว่าโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดโรคไข้เลือดออก เนื่องจากมีการระบาดของโรคเกิดในพื้นที่ และพื้นที่ใกล้เคียงค่อนข้างสูงมาก โรคไข้เลือดมียุงลายเป็นพาหะนำโรค เมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้น จะมีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ถ้าหากไม่มีการควบคุม ป้องกันหรือทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ประกอบกับสภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลสำเร็จนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือกันอย่างจริงจัง จากทุกๆฝ่ายำม่ว่าจะเป็นหน่วยงานรัฐ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้น่าชุมชน และประชาชนทั่วไป จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน จึงจัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2565 นั้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าหิน
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (2560-2564)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 2.หมู่บ้านชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 3.ร้อยละ100ของรพ.สต. โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ มีค่าCIเท่ากับ0
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 90.00
  • 2. เพื่อกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในทุกหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านมีค่าHIน้อยกว่าร้อยละ 10
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 100.00
  • 3. เพื่อให้รพ.สต. โรงเรียน วัด และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯปลอดลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของครัวเรือน มีค่า HI < 10, CI=0 2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับค่าMEDAIN ย้อนหลัง 5ปี
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 25.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดซื้ออุปกรณ์เพื่อใช้ในการป้องกันรณรงค์ และควบคุมโรคเมื่อมีการระบาด
    รายละเอียด

    ขั้นเตรียมการ 1.จัดเวทีประชาคมสุขภาพเพื่อชี้แจงสภาพปัญหา ร่วมแสดงความคิด เพื่อแนวทางแก้ไข้ปัญหา 2.จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ 3.จัดซื้อ วัสอุปกรณ์เพื่อใช้ในการป้องกัน รณรงค์ และควบคุมโรค เมื่อมีการระบาด 4.ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ 5.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นดำเนินการ 1.ประชุมเจ้าหน้าที่อสม. 2.จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมโรคระดับตำบล 3.อสม.ร่วมกับเจ้าของบ้านสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกสัปดาห์ และอสม.ส่งรายงานผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกเดือน 4.รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการใส่ทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย และจัดBig Cleaning ในชุมชน โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ และโรงพยาบาลส่งเสริม เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงปีละ 4 ครั้ง (ธค มีค มิย กย)
    5.ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น แผ่นไวนิล การจัดนิทรรศการและแจกเอกสาร แผ่นพับ 6.พ่นควันเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย 7.ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ช่วงที่มีการระบาดของโรคในพื้นที่ 7.1 ใช้สเปรย์ฉีดยุงตัวแก่ในบ้านของผู้ป่วยกรณีไม่สามารถพ่นหมอกควันได้ 7.2สนับสนุนโลชั่นทากันยุงแก่ผู้ป่วย ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ละแวกบ้านผู้ป่วยในรัศมี 100 และผู้ป่วยที่สงสัยเป็นไข้เลือดออก 7.3พ่นควันเคมีกำจัดยุงลายตัวแก่ในบ้านผู้ป่วยและละแวกบ้านผู้ป่วยในรัศมี100 จำนวน2ครั้งห่างกัน7วัน 8.สุ่มตรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ และรพ.สต.ปีละ4ครั้ง 9.เฝ้าระวังการเกิดโรคไข้เลือดออกและแจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ขั้นประเมินผล 1.ติดตามผลการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกระดับหมู่บ้าน/ตำบล 2.ผลการรายงานกิจกรรมการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายโดย อสม.ทุกเดือน 3.สรุป/รายงานสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกในตำบลท่าหิน 4.สรุปและประเมินผลภาพรวมของโครงการ รายละเอียดงบประมาณ 1.ค่าทรายทีมีฟอส จำนวน6ถัง เป็นเงิน27,000บาท 2.ค่าโลชั่นทากันยุง ขนาด60มล. จำนวน90หลอด 5,400บาท

    งบประมาณ 32,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่ตำบลท่าหิน ม.1-6

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 32,400.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐาน 5 ปี (2560-2564) 2.หมู่บ้านชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ 3.รพ.สต. โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ มีค่า CIเท่ากับ0

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน รหัส กปท. L5240

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน รหัส กปท. L5240

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 32,400.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................