กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ตัวอย่าง_โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล ตัวอย่าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ตัวอย่าง_โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล ตัวอย่าง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล........

..

..

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

 

6.00
2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม

 

20.50

เด็กปฐมวัย เป็นวัยเริ่มต้นของชีวิต ช่วงอายุแรกเกิดถึง 5 ปี เป็น “โอกาสทอง” ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่ให้ผลตอบแทนระยะยาวที่คุ้มค่ามากที่สุด การส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตด้านร่างกายและพัฒนาการด้านต่าง ๆ อย่างเต็มศักยภาพ ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ดี ส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตดี มีร่างกายแข็งแรง สติปัญญาดี มีความสามารถในการเรียนรู้ สร้างระบบภูมิต้านทานโรคและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง คลินิกเด็กดีคุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานที่หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญ ในการกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างรอบด้านอย่างเต็มศักยภาพในภาวะแวดล้อมที่ปลอดภัย จากสถานการณ์ด้านภาวะการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (0 –5 ปี) ในพื้นที่ /รพ.สต.................. พบ..................................................................... จากปัญหาดังกล่าว พบว่าการส่งเสริมและเฝ้าระวังการคัดกรองพัฒนาการของเด็กปฐมวัย (0 –5 ปี)รัฐบาลได้มีนโยบายพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพ โดยมอบให้ 4 กระทรวงหลัก ได้แก่กระทรวงมหาดไทย, กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกันทำงาน โดยใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นเครื่องมือและกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนสร้างเด็กไทยให้มีคุณภาพ บุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงาน ครูผู้ดูแลเด็กในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง รวมถึงภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 4 กระทรวง จึงเป็นบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ที่ต้องร่วมมือกันในการดูแลเด็กปฐมวัย ให้มีสุขภาพดี เติบโตได้เต็มศักยภาพ
รพ.สต....................................... จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ และผู้ที่เกี่ยวข้องการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพเพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตได้อย่างมีศักยภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปัญหาเด็กแรกเกิด นน.น้อย

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ลดลง

6.00 2.00
2 เพื่อลด เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม  ลดลง

20.50 8.00
3 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ ในกลุ่มเด็ก 0- 5 ปี ที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ

เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุม  ร้อยละ

0.00 0.00
4 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -5 ปี ลดลง  ร้อยละ

0.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/10/2022

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกับภาคที่เกี่ยวข้อง (ผู้ปกครอง/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กกับภาคที่เกี่ยวข้อง (ผู้ปกครอง/ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดทำคู่มือ Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) จำนวน........ เล่มๆ ละ 30บาท......
2.ค่าวิทยากรจำนวน.......คนๆละ.........ชั่วโมงๆละ600บาท.....
3.ค่าอาหารว่าง จำนวน.......คนๆละ.............จำนวน.......มื้อ......
4.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน.......คนๆละ.............จำนวน.......มื้อ......
5.ค่าวัสดุจัดประชุม......................บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนผู้ปกครอง / ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการใช้เครื่องมือ DSPM ได้ถูกต้อง ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้้ำหนักและที่วัดส่วนสูง และขอสนับสนุนเครื่องชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน.......เครื่องๆ ละ......บาท.....
2.ดำเนิการบันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผู้ปกครอง

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทักษะผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทักษะผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากรจำนวน.......คนๆละ.........ชั่วโมงๆละ 600บาท.....
2.ค่าอาหารว่าง จำนวน.......คนๆละ.............จำนวน.......มื้อ......
3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน.......คนๆละ.............จำนวน.......มื้อ......
4.ค่าวัสดุจัดประชุม......................บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นำข้อมูลจากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก มาวางแผนพัฒนาในประเด็นที่ยังมี ปัญหาหรือความเสี่ยง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 จัดซื้ออาหารเสริม (นม) ให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้ออาหารเสริม (นม) ให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้ออาหารเสริม (นม) ให้แก่เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ จำนวน......รายๆละ..........บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุม ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง จน ครบ 3 - 6 เดือน และแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินการต่อเนื่อง

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเยี่ยมบ้านและชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง จน ครบ 3 - 6 เดือน และแนะนำผู้ปกครองให้ดำเนินการต่อเนื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าพาหนะในการดำเนินการชั่งน้้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในชุมชน จำนวน.......รายๆละ.........บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -5 ปี ลดลงร้อยละ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน ส่งให้ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน ส่งให้ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1ค่าอาหารว่าง จำนวน.......คนๆละ.............จำนวน.......มื้อ......
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน.......คนๆละ.............จำนวน.......มื้อ......
3.ค่าวัสดุจัดประชุม......................บาท.
4.ค่าเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน......เล่มๆละ....................บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แนวทางการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการ ของพื้นที่..........................

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุม ร้อยละ
2. ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 0 -5 ปี ลดลงร้อยละ


>