กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ปลูกผักปลอดสารเคมีกลุ่มเปลาะบาง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

องค์กรคณะกรรมการกลุ่มผลิตภัณฑ์ขี้พร้าไฟ หมู่ที่ 7

องค์กรคณะกรรมการกลุ่มผลิตภัณฑ์ขี้พร้าไฟ
1.นายกมลเนตินานนท์
2.นางเพ็ญศรีไชยเพชร
3.นายมิตรรักจุ้ย
4.นางสมศรีดำช่วย
5.นางอนงค์ชูปู

ตำบลพนมวังก์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปลูกผักพื้นบ้านที่ส่งเสริมสุขภาพทางเลือก ตำบลละ 1 แห่ง

1.มีศูนย์เรียนรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพทางเลือก ตำบลละ 1 แห่ง

0.00
2 2.ส่งเสริมการใช้ความรู้ ด้านการส่งเสริมสุขภาพทางเลือก ลดการปนเปื้อนจากสารตกค้างที่ก่อให้เกิดโรคต่างๆป้องกันโรค รักษาโรค โดยภูมิรู้จากชุมชน ลดการใช้สารเคมีทุกประเภทให้ได้ เกิดเป็นทุนของงบประมาณแผ่นดิน ไปพัฒนาด้านอื่นได้มากขึ้น

2.มีกลุ่มแกนนำ ในการเรียนรู้ โดย
- มีสวนผักพื้นบ้านเพื่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ในการทำอาหาร ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพ
- มีกิจกรรมทางด้านการรักษาพยาบาล  ป้องกันโรค  การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟูสุขภาพด้วยศาสตร์ - เป็นการสร้างทุนทางสังคม  ชุมชน  หมู่บ้าน  ตำบลฯ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดกิจกรรมให้ความรู้ในเรื่องสารตกค้างสารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๋ย จากมูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี

ชื่อกิจกรรม
1.จัดกิจกรรมให้ความรู้ในเรื่องสารตกค้างสารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๋ย จากมูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดกิจกรรมให้ความรู้ในเรื่องสารตกค้างสารปนเปื้อนในผักในอาหาร และ การผสมปุ๋ย จากมูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี มีกิจกรรมดังนี้
- จัดกิจกรรมให้ความรู่ ในเรื่องสารตกค้างสารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และ การผสมปุ๋ยจาก มูลสัตว์เว้นจากการใช้สารเคมี - กิจกรรมการปลูกผักปลอดสารเคมีผู้นำการดำเนินงานตามโครงการจำนวน 5 คน ดังนี้
1.นางเพ็ญศรีไชยเพชร 2.นางเพ็ญศรี โฟภิษฐกุล 3.นางอำพันธ์ สิทธิชัย 4.นางสุดาวดีดำช่วย 5.นางอุบล ชูช่วย

1.การประชุมให้ความรู้ดังนี้เป็นเงิน 2,550 บาท 1.1ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท 1.2 ค่าวิทยากร 3 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2.ค่าวัสดุโครงการ (16,600 บาท) เพื่อการสาธิตและมอบให้สมาชิกกลุ่มนำไปปลูก รายละเอียดดังนี้ 2.1 ค่ารำละเอียด 60 กก. ๆ ละ 10 บาท
เป็นเงิน600บาท
2.2 ค่าขุ้ยมะพร้าว 80 กระสอบ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน4,800 บาท 2.4 ค่าแกลบดำ 80 กระสอบ ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน4,800 บาท 2.5 ค่ามูลแพะ 100 กระสอบ ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน4,000 บาท 2.6 ค่าปุ๊ยยูเรีย 1 กระสอบ ๆ ละ 1,400 บาท
เป็นเงิน 1,400 บาท 2.5.กากน้ำตาล 100 กกๆละ 10 บาท
เป็นเงิน1,000 บาท

รวมเป็นเงิน 19,150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีศูนย์เรียนรู้ด้านการส่งเสริมการปลูกผักพื้นบ้านไร้สารเคมี ตำบลละ 1 แห่ง
2.เป็นทางเลือกให้แก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ด้วยศาสตร์การใช้ธรรมชาติ


>