กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนการดูแลและป้องกันโรคในกลุ่มอาชีพทำสวนยางพารา ในหมู่ 4,5,7 ปีงบประมาณ2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลกาบัง

-

ลานเอนกประสงค์โรงพยาบาลกาบัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 วัยทำงาน กลุ่มวัยทำงานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15-60 ปี ในปี พ.ศ.2540 ประเทศไทยมีประชากรในวัยนี้ถึง 38.97 ล้านคน จำนวนการตายของประชากรในกลุ่มนี้ จะสูงมากในช่วงอายุ 25-29 ปี (ร้อยละ 6.7) รองลงมาอยู่ในช่วงอายุ 30-34 ปี (ร้อยละ 6.5) และในวัย 55-59 ปี

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนารูปแบบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตาม ข้อมูลความเสี่ยงด้านการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา และแลกเปลี่ยนข้อมูล ในหมู่ที่ ๔ ๕ ๗ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หน่วยงานในพื้นที่มีข้อมูลจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในหมู่  4, 5,7และได้รับการเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมหน่วยบริการ

50.00 60.00
2 เพื่อให้พัฒนาศักยภาพแกนนำให้มีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคจากการทำงานจากผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา

กลุ่มประกอบอาชีพในหมู่ 4 ,5,7  ตำบลกาบังได้รับการสนับสนุนให้มีการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากการทำงานของทั้งในระดับบุคคลและระดับกลุ่มอาชีพเดียวกัน

50.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคืนข้อมูลความเสี่ยงสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพาราของแกนนำอาชีวอนามัย

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคืนข้อมูลความเสี่ยงสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพาราของแกนนำอาชีวอนามัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน จำนวน ๑0 คน ๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ            เป็นเงิน   ๕00 บาท    - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑0 คน ๆละ50 บาท จำนวน 1 มื้อ                                 เป็นเงิน   ๕00  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต: เพื่อพัฒนารูปแบบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตาม ข้อมูลความเสี่ยงด้านการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา และแลกเปลี่ยนข้อมูล  เพื่อให้พัฒนาศักยภาพแกนนำให้มีความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคจากการทำงานจากผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
ผลลัพธ์: หน่วยงานในพื้นที่มีข้อมูลจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา ได้รับการเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมหน่วยบริการและได้รับการสนับสนุนให้มีการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากการทำงานของทั้งในระดับบุคคลและระดับกลุ่มอาชีพเดียวกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 ค่าประชุมอบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา

ชื่อกิจกรรม
ค่าประชุมอบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวนจำนวน 30 คน ๆละ 25 บาทจำนวน 2 มื้อ 2 รุ่น      เป็นเงิน  3,000 บาท    - ค่าอาหารกลางวันจำนวน 30 คน ๆละ50 บาท จำนวน 1 มื้อ 2 รุ่น                         เป็นเงิน  3,000 บาท    - ค่าวิทยากรจำนวน 6 ช.ม.ๆละ 300 บาท 2 รุ่น                                                 เป็นเงิน  3,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9600.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามพฤติกรรมสุขภาพหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา

ชื่อกิจกรรม
ติดตามพฤติกรรมสุขภาพหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพารา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการจำนวน  1 ใบ
     - ขนาด 1 เมตรx  2 เมตร                                                                           เป็นเงิน      600 บาท ค่าตอบแทนการติดตามพฤติกรรมสุขภาพหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพจากการประกอบอาชีพทำสวนยางพาราโดยแกนนำอาชีวอนามัยของหมู่บ้าน จำนวน 10 คนครั้งละ 200 บาท                                 เป็นเงิน   2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

หน่วยงานในพื้นที่มีข้อมูลจำนวนผู้ประกอบอาชีพทำสวนยางพาราในหมู่4 ,5,7
กลุ่มประกอบอาชีพในหมู่ 4 ,5,7ตำบลกาบังได้รับการเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมหน่วยบริการ
กลุ่มประกอบอาชีพในหมู่ 4,5,7 ตำบลกาบังได้รับการสนับสนุนให้มีการจัดการและแก้ไขปัญหาสุขภาพจากการทำงานของทั้งในระดับบุคคลและระดับกลุ่มอาชีพเดียวกัน


>