กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวถนน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสร้างเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวถนน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวถนน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวถนน ,ศาลากลางหมู่บ้านหมู่ที่ 9

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันคนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบันส่งผลต่อการจัดบริการทั้งบริการสารณสุขทั้งระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยยังมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเพราะเป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควรซึ่งโรคนี้เหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้องการขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้องการรับประทานอาหารที่มันจัดเค็มจัดหวานจัด รวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน อย่างจริงจัง เพื่อให้ประชาชนออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย30 นาที ร่วมกับรับประทานผักสดวันละอย่างน้อย5 ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน จะช่วยลดเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้
จากการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวถนนปี 25๖4ที่ผ่านมา (ตค.๖3 – กย.64 ) ประชากร35ปีขึ้นไปได้รับการ
คัดกรองเบาหวาน1,022คนและเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน344คน คิดเป็นร้อยละ33.66 พบกลุ่มสงสัยป่วย35 คนคิดเป็นร้อยละ3.42 พบ ผู้ป่วยรายใหม่ในปี7คนคิดเป็นร้อยละ 0.68และประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง855คนและเสี่ยงต่อโรค66คน คิดเป็นร้อยละ7.72พบกลุ่มสงสัยป่วย91 คนคิดเป็นร้อยละ10.64พบผู้ป่วยรายใหม่ในปี14คน คิดเป็นร้อยละ 1.63ประชากรกลุ่มเสี่ยง ,ผู้ป่วย มีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องการกินยาไม่ต่อเนื่องหยุดยาเอง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวถนนจึงได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญกับการป้องกันการเกิดโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดกลุ่มป่วยรายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน น้อยกว่าร้อยละ  2.05
อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน มากกว่าร้อยละ  30
          กลุ่มผู้ป่วยสามารถควบคุมเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้  ร้อยละ 50

0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วย

กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  กลุ่มผู้ป่วยเข้ารับการอบรมร้อยละ ๙๕

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้ป่วยที่มารับบริการ 20

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรมฟื้นฟูการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตและชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการแก่ อสม.เพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรมฟื้นฟูการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตและชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการแก่ อสม.เพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มื้อละ 25 บาท x  จำนวน 36 คน  เป็นเงิน 900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
900.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ อบรมให้ความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลและความดันโลหิตได้)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ อบรมให้ความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลและความดันโลหิตได้)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าไวนิลโครงการ ขนาด ๑ x ๓ เมตร ตารางเมตรละ ๑5o บาท x        จำนวน 1 ผืน  เป็นเงิน 450 บาท        - ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพชุดละ 10 บาท x  80 ชุด    เป็นเงิน 800 บาท
           - ค่าวัสดุที่ใช้ในการอบรม คนละ 50 บาท x 80  คน     เป็นเงิน 4,000 บาท        - ค่าวัสดุสำนักงาน (แฟ้มติดตามผู้ป่วยรายบุคคล , แฟ้มผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม , สติกเกอร์สี , กระดาษฯ , ที่เก็บอุปกรณ์ , สายวัด )                       เป็นเงิน 3,000 บาท

       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเสี่ยงสูงจากการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
มื้อละ 25 บาท x จำนวน 80 คน x 1 ครั้ง (ติดตามผล 1  เดือน)       เป็นเงิน 2,000 บาท
       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาล/ความดันโลหิตสูงได้
และผู้ดูแลผู้ป่วยมื้อละ 25 บาทx จำนวน 2๐ คน x 2 ครั้ง             
เป็นเงิน 1,000 บาท -  ค่าตอบแทนวิทยากรอบรมจากหน่วยงานในอำเภอสะเดา ชั่วโมงละ 600 บาท x  จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมง  X 2 ครั้ง                                                 เป็นเงิน 3,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14850.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลซ้ำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาลซ้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าจัดทำสมุดประจำตัวสำหรับติดตามผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยง เล่มละ 50 x จำนวน 100 เล่ม    เป็นเงิน 5,000 บาท
           - ค่าอุปกรณ์การเจาะเลือดปลายนิ้วมือเพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยง (เข็มเจาะปลายนิ้ว , Strip เบาหวาน , เครื่องวัดน้ำตาล , เครื่องวัดไขมันและชั่งน้ำหนัก , เครื่องวัดความดันโลหิต) 
                 1. เข็มเจาะปลายนิ้ว 1 กล่อง (200 ชิ้น)                                       เป็นเงิน 1,050 บาท         2. แถบตรวจน้ำตาลในเลือด กล่องละ 480 บาท x 4 กล่อง (กล่องละ 25 ชิ้น)    เป็นเงิน 1,920 บาท      3. เครื่องตรวจวัดน้ำตาล 1 เครื่อง                                           เป็นเงิน 2,650 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10620.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 เจาะเลือดติดตามผลทางห้องปฏิบัติการประจำปีผู้ป่วยเบาหวานและความดัน โลหิตที่รพ.สต.เพื่อส่งตรวจที่โรงพยาบาลแม่ข่าย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 เจาะเลือดติดตามผลทางห้องปฏิบัติการประจำปีผู้ป่วยเบาหวานและความดัน โลหิตที่รพ.สต.เพื่อส่งตรวจที่โรงพยาบาลแม่ข่าย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มป่วยที่นัดมาติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ มื้อละ 25 บาท x จำนวน  100 คน  เป็นเงิน 2,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,870.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและกลุ่มผู้ป่วย


>