กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล รหัส กปท. L5192

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
การคัดกรองผู้ป่วยระยะท้าย(Palliative care) เชิงรุกในพื้นที่พหุวัฒนธรรมตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพลหมู่ที่ 1 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
กลุ่มคน
1. แพทย์หญิงเอมอร แซ่หลีตำแหน่ง นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลเทพา
2. นางบุญประสมนิลกาฬตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล
3. นางสาววิทิตา วิจะสิกะตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
4. นางสาวจินตณีย์หีมบวชตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
5. นางสาวฐิติรัตน์ ไชยวรรณ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
3.
หลักการและเหตุผล

ผู้ป่วยระยะท้ายจะมีการดำเนินของโรคเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต การทำงานของอวัยวะสำคัญจะทรุดลงไปเรื่อยๆจนกว่าร่างกายไม่สามารถกลับเข้าสู่สภาพปกติได้และเสียชีวิตในที่สุด ถึงแม้ปัจจุบันวิทยาการทางการแพทย์จะมีความเจริญก้าวหน้าทำให้ยืดชีวิตของผู้ป่วยออกไปได้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยระยะท้ายในโรงพยาบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงกระทบต่อสุขภาพหลายด้าน และมีความแตกต่างกันตามปัจเจกบุคคล ภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วย สภาพความเป็นอยู่ สัมพันธภาพในครอบครัว ระบบการให้คุณค่า ความเชื่อ ปัจจัยต่างๆเหล่านี้มีอิทธิพลต่อการรับรู้และการตอบสนองต่ออาการของแต่ละบุคคล ดังนั้นการดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยระยะท้ายจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่ตามความเป็นจริงและสามารถเผชิญความตายได้อย่างสงบ อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่พหุวัฒนธรรม มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 60 ศาสนาพุทธ ร้อยละ 40 การจัดบริการจึงต้องสอดคล้องกับวัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิต และขนบธรรมเนียบประเพณีในปี 2561 มีการค้นหาผู้ป่วยระยะท้ายเชิงรุก พบผู้ป่วยจำนวน 216 รายร้อยละ 0.3 ของประชากรในพื้นที่ในปี 2563-2565 ในเขตตำบลลำไพลพบว่ามีผู้ป้วยระยะท้ายจำนวน 10,5และ9 ตามลำดับ และใน ปี 2565 ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล พบว่ามีผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง ซึ่งได้แก่ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 12 คน ผู้พิการ 112 คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 4 คนโดยบางกลุ่มยังไม่ได้รับการประเมินว่าเป็นผู้ป่วยระยะท้ายหรือไม่ เนื่องจากสถานกานณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้ไม่สามารถออกค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกได้ ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแล จึงมีเฉพาะผู้ป่วยที่เข้าสู่ระบบของโงพยาบาล หรือ รพ.สต. การเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวข้างต้นถือเป็นโรคที่คุกคามชีวิตของผู้ป่วย จำเป็นต้องได้รับการดูแล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยดังกล่าวได้รับการดูแลที่ดีตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการเจ็บป่วยจนถึงระยะสุดท้ายของชีวิต

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 24.00 เป้าหมาย 24.00
  • 2. 2. เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการจัดบริการและดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
    ตัวชี้วัด : บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 120.00 เป้าหมาย 120.00
  • 3. 3.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
    ตัวชี้วัด : มีระบบการดูแลผู้ป้วยระยะท้ายแบบประคับประคองที่มีประสิทธิภาพ
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
  • 4. 4.เพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลแบบประคับประคอง
    ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองจำนวน2 รุ่นๆละ 60 คน รวมจำนวน120 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับปะคอง จำนวน 2 รุ่นๆละ 60 คน รวม120 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม จากโรงพยาบาลเทพา จำนวน 10 คนจำนวน6 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 36,000บาท 4.ค่าวัสดุ อุปกรณ์ เคื่องเขียน ในการจัดอบรมเป็นเงิน 2,000บาท

    งบประมาณ 50,000.00 บาท
  • 2. จัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมเสวนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลผู้ป่วยระยะท้าย  จำนวน 120 คนๆละ1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000  บาท 2.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการถอดบทเรียน เช่นกระดาษบรู๊พ  ปากกาเคมี  จำนวน 1000  บาท

    งบประมาณ 4,000.00 บาท
  • 3. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน ประธาน อสม. เจ้าหน้าที่ ใน รพ.สต. ตัวแทนเทศบาลตำบลลำไพล หน่วยงานอื่นในพื้นที่
    รายละเอียด

    1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน ประธาน อสม. เจ้าหน้าที่ ใน รพ.สต. ตัวแทนจากหน่วยงานในเขตพื้นที่ จำนวน 30 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท

    งบประมาณ 750.00 บาท
  • 4. สรุปผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอโครงการ
    รายละเอียด

    1.ค่าถ่ายเอกสารในการจัดทำรูปเล่ม จำนวน  1000 บาท

    งบประมาณ 1,000.00 บาท
  • 5. ติดตามการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน
    รายละเอียด

    1.จัดทำแผนการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
    2.ลงติดตามดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 6. ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน
    รายละเอียด

    1.อสม./แกนนำ/ตัวแทนชุมชน ที่ผ่านการอบรม ลงพื้นที่คัดกรองผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ผู้ป่วยระยะท้ายทุกเดือน 2.รายงานผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ผู้ป่วยระยะท้ายต่อทีมดูแลผู้ป่วยระยะท้าย 3.ทีมดูแลผู้ป่วยระยะท้ายลงพื้นที่ให้การดูแลรักษาฟื้นฟูตามระยะของโรค

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

13 หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 55,750.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการถั่วเฉลี่ยจ่ายได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.สามารถค้นหาผู้ป่วยระยะท้าย( PalliativeCare)เชิงรุกในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น 2.ผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองตามมาตรฐานจนถึงวาระสุดท้าย 3.ผู้ป่วยระยะท้ายเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคอง จากทีมสุขภาพ ครอบครัวและชุมชน รวมทั้งผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองในช่วงเวลาของภาวะโรคและอาการได้อย่างเหมาะสม

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล รหัส กปท. L5192

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล รหัส กปท. L5192

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 55,750.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................