กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเพิ่มทักษะชีวิตในสถาณการณ์ฉุกเฉิน โรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนตัดหวาย

โรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียน

1. นางสาวปรียาสินดุกา
2. นางสาวฮายาดเหล็มเส็น
3. นายมะยูกีเจะและ
4. นางสาวข้อดีเย๊าะหัดเอียด
5. นางสาวศิรินทิพย์หลำเอียด

โรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

60.00
2 ร้อยละของครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่ขาดทักษะความรู้และทักษะในการป้องกันอัคคีภัย

 

60.00
3 ร้อยละของเด็กวัยเรียนที่มีความเสี่ยงจากภัยสังคมตามที่อยู่อาศัยโรงเรียนและชุมชน

 

60.00

ในปัจจุบันพบว่าปัญหาของเด็กวัย 6 ปีขึ้นไปมีประสบปัญหาที่หลากหลายขึ้นและทวีความรุนแรงขึ้นอันจะเห็นได้จากข่าวตามสื่อต่าง ๆ โดยมีสาเหตุจากการจมน้ำ ไฟไหม้และภัยจากสังคม ดังนั้นการสอนทักษะการเอาชีวิตรอดจากภัยต่างๆ ที่อาจเข้ามาและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นความรู้เพื่อให้ติดตัวพวกเขาตลอดไปทางโรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียนจึงจัดกิจกรรมวิธีเอาตัวรอดเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อเสริมทักษะการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากภัยต่าง ๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง

ร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ

60.00 80.00
2 เพื่อสร้างองคค์วามรู้และทักษะในการป้องกันอัคคีภัยให้กับครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

ร้อยละ 80 ครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะความรู้และทักษะในการป้องกันอัคคีภัย

60.00 80.00
3 เพื่อให้ครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการสังเกต การเจรจา การขอความช่วยเหลือ การป้องกันตัวเอง และการเอาตัวรอดและรู้เท่าทันภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้

ร้อยละ 80 ครูนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีทักษะในการสังเกต การเจรจา การขอความช่วยเหลือ การป้องกันตัวเอง และการเอาตัวรอดและรู้เท่าทันภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้

60.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 19
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 87
กลุ่มวัยทำงาน 9
กลุ่มผู้สูงอายุ 1
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 28/02/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การเอาตัวรอดจากการจมน้ำและการป้องกันการจมน้ำ

ชื่อกิจกรรม
การเอาตัวรอดจากการจมน้ำและการป้องกันการจมน้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงาน
  • ประสานงานขั้นเตรียมการกับผู้ทู้ี่เกี่ยวข้องและเสนอขออนุมตัิโครงการ -จัดเตรียมสถานที่พิธีเปิด – พิธีปิด -จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ในการฝึกซ้อมแผน -จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
  • ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ งบประมาณ ค่าอาหารว่างรอบเช้าสำหรับผู้ร่วมซ้อมแผน (นักเรียน,คุณครู,วิทยาการและผู้เกี่ยวข้อง) 125 คน 12525=3,125บาท ค่าป้ายโครงการ(ป้ายไวนิล 23 เมตร ) จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 พฤศจิกายน 2565 ถึง 25 พฤศจิกายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการเอาตัวรอดจากการจมน้ำและการป้องกันการจมน้ำ ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4625.00

กิจกรรมที่ 2 การเอาตัวรอดจากอัคคีภัย

ชื่อกิจกรรม
การเอาตัวรอดจากอัคคีภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงาน
  • ประสานงานขั้นเตรียมการกับผู้ทู้ี่เกี่ยวข้องและเสนอขออนุมตัิโครงการ
  • จัดเตรียมสถานที่พิธีเปิด – พิธีปิด
  • จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ในการฝึกซ้อมแผน
  • จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
  • ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ งบประมาณ ค่าอาหารว่างบ่ายสำหรับผู้ร่วมซ้อมแผน (นักเรียน,คุณครู,วิทยาการและผู้เกี่ยวข้อง) 125 คน 125*25=3,125บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรบ 1,250บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 พฤศจิกายน 2565 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการเอาตัวรอดจากอัคคีภัยร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4375.00

กิจกรรมที่ 3 การป้องกันตัวจากภัยสังคม

ชื่อกิจกรรม
การป้องกันตัวจากภัยสังคม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงาน
  • ประสานงานขั้นเตรียมการกับผู้ทู้ี่เกี่ยวข้องและเสนอขออนุมตัิโครงการ
  • จัดเตรียมสถานที่พิธีเปิด – พิธีปิด
  • จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ในการฝึกซ้อมแผน
  • จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
  • ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ งบประมาณ ค่าวิทยากร5 ชม. ชัวโมงละ 600บาทเป็นเงิน 3,000บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
25 พฤศจิกายน 2565 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งนาเคียนได้เข้าร่วมกิจกรรมการป้องกันตัวจากภัยสังคมร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กวัยเรียนมีความรู้และทักษะในการเอาตัวรอดจากการจมน้ำ
2. เด็กวัยเรียนมีความรู้และทักษะในการเอาตัวรอดจากการเกิดเพลิงไหม้
3. เด็กวัยเรียนเอาตัวรอดจากภัยสังคม


>