กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการสถานีสุขภาพสัญจร ปลอดโรค Stroke ไตวาย และหัวใจ ประจำปี 2566
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
งานการพยาบาลชุมชนร่วมกับกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก
กลุ่มคน
น.ส.อาซูรา เบ็ญจุฬามาศ
นางปราณี จุลกศิลป์
น.ส.พันธ์ทิพย์ สกุลราช
น.ส.กิรณา อรุณแสงสด
น.ส.นรารัตน์แก้วเลี่ยม
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง และเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับต้น ๆ หากไม่ได้รับการรักษาหรือได้รับการรักษาไม่ถูกต้องจะเป็นอันตรายต่อชีวิตผู้ป่วย จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าคนไทยที่มีโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะตาบอด โรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะหัวใจล้มเหลว โรคหลอดเลือดส่วนปลาย และการถูกตัดอวัยวะ เป็นต้น ปัญหาของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ที่พบบ่อยที่สุด คือ การบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ยังพบการบริโภคอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มเป็นหลัก สาเหตุ คือ ความเคยชิน ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเองจึงหาซื้ออาหารสำเร็จรูป รวมถึงขาดการออกกำลังกาย อีกทั้งการรับประทานยาอย่างไม่ต่อเนื่อง ขาดยา ไม่ไปพบแพทย์ตามนัด สูบบุหรี่และไม่สามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกหลักได้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และมีความเครียดจากโรคที่เป็น ส่งผลให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตสูงได้ เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคมีผลกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว ดังนั้นเพื่อเป็นการควบคุมและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ให้สามารถควบคุมและป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก มีผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง ปี 2563-2565 จำนวน 6,240 ราย 6,589 ราย และ 6,363 ราย ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563-2565 จำนวน 2,660 ราย 2,485 ราย และ 2,621 ราย ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ปี 2563-2565 จำนวน 504 ราย 450 ราย และ 382 ราย ตามลำดับ ผู้ป่วยโรคไต ปี 2563-2565 จำนวน 671 ราย 768 ราย และ 746 ราย ตามลำดับ และมีผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด ปี 2565 จำนวน 73 ราย อีกทั้งผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมารับการตรวจรักษาและรับยาที่โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 และ 2 จำนวน 500 ราย/สัปดาห์ (ในวันคลินิกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 และ 2 ให้ความสำคัญและตระหนักในการดูแลสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ทำให้ลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ งานการพยาบาลชุมชน ร่วมกับ กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการสถานีสุขภาพสัญจร ปลอดโรค Stroke ไตวาย และหัวใจ

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค อาการแสดง การปฏิบัติตัวและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีระดับระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตลดลงอยู่ในเกณฑ์ ร้อยละ 50
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. สถานีสุขภาพสัญจร ปลอดโรค Stroke ไตวาย และหัวใจ
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมายชุมชน 4 ชุมชน ได้แก่
    - ชุมชนอริศรา
    - ชุมชนมัสยิดกลาง
    - ชุมชนบือเร็งนอก
    - ชุมชนทรายทอง
    กลุ่มเป้าหมาย เป็นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนชุมชนละ 30 คน คณะทำงาน 20 คน รวม 50 คน/ชุมชน
    รายละเอียดกิจกรรม
    สถานีที่ 1 คัดกรองสุขภาพ ทราบสถานะสุขภาพโดย Application
    - คัดกรองสุขภาพโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิตสูง เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว ประเมิน CVD Risk และคัดกรองบุหรี่ พร้อมทราบสถานะสุขภาพ โดย Application
    สถานีที่ 2 เตือนภัยโรคร้ายใกล้ตัว
    - อบรมให้ความรู้โดยแพทย์และพยาบาลเฉพาะทางอายุรกรรมได้แก่ แพทย์อายุรกรรม แพทย์เฉพาะทางโรคไต พยาบาลเฉพาะทางสาขาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไต
    สถานีที่ 3 อาหารเฉพาะโรค (ลดหวาน มัน เค็ม)
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้อาหารเฉพาะโรค (ลดหวาน มัน เค็ม) โดยนักโภชนาการ
    สถานีที่ 4 ยาสมุนไพรใคร่รู้
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ยาเฉพาะโรคที่ถูกวิธี ผลข้างเคียง และการใช้ยาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ยาสมุนไพรที่ถูกต้องและผลข้างเคียงจากการใช้ยาสมุนไพร
    สถานีที่ 5 ออกกำลังกายสู้โรค
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรค โดยนักกายภาพบำบัด
    สถานีที่ 6 วัดใจลดเครียด เลิกบุหรี่
    - คัดกรองความเครียดและสอนการเลิกบุหรี่
    กำหนดการ
    08.30 - 09.00 น. ลงะเบียน
    09.01 - 11.30 น. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าฐานแต่ละสถานี ดังนี้
    สถานีที่ 1 คัดกรองสุขภาพ ทราบสถานะสุขภาพโดย Application
    - คัดกรองสุขภาพโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิตสูง เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว ประเมิน CVD Risk และคัดกรองบุหรี่ พร้อมทราบสถานะสุขภาพ โดย Application
    สถานีที่ 2 เตือนภัยโรคร้ายใกล้ตัว
    - อบรมให้ความรู้โดยแพทย์และพยาบาลเฉพาะทางอายุรกรรมได้แก่ แพทย์อายุรกรรม แพทย์เฉพาะทางโรคไต พยาบาลเฉพาะทางสาขาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไต
    สถานีที่ 3 อาหารเฉพาะโรค (ลดหวาน มัน เค็ม)
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้อาหารเฉพาะโรค (ลดหวาน มัน เค็ม) โดยนักโภชนาการ
    สถานีที่ 4 ยาสมุนไพรใคร่รู้
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ยาเฉพาะโรคที่ถูกวิธี ผลข้างเคียง และการใช้ยาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ยาสมุนไพรที่ถูกต้องและผลข้างเคียงจากการใช้ยาสมุนไพร
    สถานีที่ 5 ออกกำลังกายสู้โรค
    - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรค โดยนักกายภาพบำบัด
    สถานีที่ 6 วัดใจลดเครียด เลิกบุหรี่
    - คัดกรองความเครียดและสอนการเลิกบุหรี่
    11.31-12.00 น. ถอดบทเรียนสถานีสุขภาพสัญจร ปลอดโรค Stroke ไตวาย และหัวใจ
    งบประมาณ
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ x 30 บาท x 50 คน x 4 ชุมชน = 6,000 บาท
    2. ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม 6 สถานี 6 คน x 300 บาท x 2 ชม. x 4 ชุมชน = 14,400 บาท
    3. ค่าวัสดุจัดทำป้ายไวนิลโครงการ =1,200 บาท (สถานีที่ 2)
    4. ค่าวัสดุจัดทำป้ายไวนิล อาการเตือนภัย โรคร้ายใกล้ตัวและปิงปอง 7 สีวิถีบ้านเรา =2,400 บาท(สถานีที่ 2)
    5. ค่าจ้างจัดทำเส้นทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 20 บาท x 30 ชุด x 4 ชุมชน =2,400 บาท(สถานีที่ 2)
    6. ค่าวัสดุเมนูอาหารสาธิตเฉพาะโรค 1,000 บาท(สถานีที่ 3)
    7. ค่าวัสดุอุปกรณ์ใส่ยา 20 บาท x 30 คน x 4 ชุมชน =2,400 บาท (สถานีที่ 4)

    งบประมาณ 29,800.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 16 มกราคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 4 ชุมชน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 29,800.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการดูแลตนเองและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  2. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้
  3. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 29,800.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................