กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ Zero Waste โรงเรียนและชุมชนบ้านตูแตหรำเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านตูแตหรำ
กลุ่มคน
1. นายบาฮารูดิน ยาโงะ ผู้ประสานงานคนที่ 1 เบอร์โทร 066 - 0744946
2. นางสาววิละยาเหมรา ผู้ประสานงานคนที่ 2 เบอร์โทร 089 - 2939849
3. นางสาวมาลินี หลีมานัน
4. นางสาวฟารีดา หวันสู
5. นางปิยะวดี ยาวาหาบ
3.
หลักการและเหตุผล

จากการเพิ่มสูงขึ้นของขยะมูลฝอยในปัจจุบันเนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่มีความสะดวกสบาย เครื่องใช้บรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เป็นพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว การใช้บริการการสั่งซื้อสินค้าและอาหารผ่านระบบออนไลน์ ส่งผลให้ขยะที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ถูกกำจัดอย่างเป็นระบบเกิดปัญหาและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมาในชุมชนและโรงเรียน อีกทั้งชุมชนบ้านตูแตหรำยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะ โรงเรียนบ้านตูแตหรำได้พยายามดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาการจัดการขยะ โดยที่ผ่านมาการจัดการขยะ นักเรียนที่ยังขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ ร้อยละ 75 และประชาชนยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีร้อยละ 80 ส่งผลให้การจัดการขยะมีประสิทธิภาพไม่เท่าที่ควร อีกทั้งปริมาณขยะต่อวันในโรงเรียน ซึ่งแยกเป็นประเภทขยะทั่วไป ประมาณ 12 กก.ต่อวัน 240 กก.ต่อเดือน และประมาณ 2,880 กก.ต่อปี ประเภทขยะอินทรีย์ประมาณ 3 กก.ต่อวัน 60กก.ต่อเดือนและ 720 กก.ต่อปี ประเภทขยะรีไซเคิลประมาณ 5 กก.ต่อวัน 100 กก.ต่อเดือน 1,200 กก.ต่อปี ประเภทขยะอันตราย 0.2 กก.ต่อวัน 4 กก.ต่อเดือน และ 48 กก.ต่อปี ประเภทขยะเปียกที่เหลือหลังจากนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันประมาณ 3 กก.ต่อวัน 50 กก.ต่อเดือน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียนทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์และสกปรกนำไปสู่การเป็นแหล่งเพาะเชื้อสู่การแพร่เชื้อโรคต่างๆ ได้ทาง โรงเรียนเล่งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการขยะ จึงจัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำกลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกจิตสำนึกการลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา โรงเรียนจึงมีนโยบายในการส่งเสริมให้นักเรียน และบุคลากรของโรงเรียนคัดแยกขยะ มีการดำเนินกิจกรรมลดขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์มีการสอนการทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอาหาร นำพลาสติก ขวดและกล่องนมเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้ ของเล่น การรณรงค์ให้มีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก ลดการใช้พลาสติกและโฟม ส่งเสริมการใช้วัสดุจากธรรมชาติ มีการจัดนักเรียนแกนนำในการสร้างความรู้และจัดตั้งชุมนุมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมในการพัฒนาวิธีการจัดการขยะตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่มีประสิทธิภาพตามบริบทของโรงเรียน การมีส่วนร่วมในชุมชนตลอดจนการรณรงค์ให้เห็นปัญหาและผลกระทบของขยะมูลฝอย รวมถึงวิธีการในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง และการร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพจากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างตัน ผู้จัดทำโครงการจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจัดการขยะ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างถูกวิธี
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีแนวทางในการจัดลดปริมาณขยะ การคัดแยกขยะ และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
    ตัวชี้วัด : 1. ปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชน ลดลงร้อยละ 70 2. โรงเรียนมีการจัดการขยะอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมการจัดการขยะ
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    • จัดอบรมให้ความเรื่องขยะให้แก่ ครู นักเรียน บุคลากร ผู้ปกครอง หลักสูตร 1 วัน

    เป้าหมาย

    • นักเรียน ทั้งหมด 100 คน

    • บุคลากรทางการศึกษา 12 คน

    • ผู้ปกครอง 80 คน

    งบประมาณ

    • ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.5 X 3 ม. เป็นเงิน 675 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 192 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 192 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 65 บาท เป็นเงิน 12,480 บาท

    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 192 ชุด ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 11,520 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท


      กำหนดการ

      08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าอบรม

      09.00 - 09.30 น. พิธีเปิดกิจกรรม โดยผู้อำนวยการสถานศึกษา

      09.30 - 10.30 น. บรรยาย เรื่องการจัดการขยะอย่างถูกวิธี

      10.30 - 10.45 น.รับประทานอาหารว่าง

      10.45 - 12.00 น.บรรยายเรื่อง การจัดการขยะอย่างถูกวิธี (ต่อ)

      12.00 - 13.00 น.รับประทานอาหารกลางวัน

      13.00 14.30 น.บรรยายเรื่อง การจัดการขยะอย่างถูกวิธี (ต่อ)

      14.30 - 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง
      14.45 - 16.15 น. บรรยายเรื่อง การจัดการขยะอย่างถูกวิธี (ต่อ)
      16.15 - 16.30 น.พิธีปิด

    งบประมาณ 37,875.00 บาท
  • 2. จัดทำชุดกิจกรรม Zero Waste
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม จัดทำชุดกิจกรรม“ZeroWaste” โรงเรียนและชุมชนเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 จัดทำเพื่อให้นักเรียนใช้เป็นแนวทางประกอบการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “ZeroWaste” โรงเรียนและชุมชนเปลี่ยนขยะให้เป็นศูนย์เน้นให้นักเรียนได้ใช้กระบวนการสร้างความรู้และพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากธรรมชาติในท้องถิ่นเพื่อการจัดการขยะที่ยั่งยืนโดยผู้จัดทำได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 13 เล่ม ดังนี้

    เล่มที่ 1 เรื่องประเภทของขยะ

    เล่มที่ 2 เรื่องการลดขยะโดยหลัก 3 ช.

    เล่มที่ 3 เรื่องธนาคารขยะ

    เล่มที่ 4 เรื่องขยะอินทรีย์

    เล่มที่ 5 เรื่องขยะรีไซเคิล

    เป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1- 6 จำนวน 74 คน

    งบประมาณ

    • กระดาษจำนวน10ลัง ๆ ละ 750 เป็นเงิน 7,500 บาท
    • กระดาษแข็งสำหรับทำปกจำนวน2 ลัง ๆ ละ 1,000เป็นเงิน 2,000 บาท
    • กระดาษกาวย่นจำนวน12 ม้วน ๆ ละ 45 บาท เป็นเงิน540 บาท
    • กาวลาเท็ก ขนาด 32 ออนซ์4 ขวด ๆ ละ85บาท เป็นเงิน 340 บาท ค่าวัสดุ เป็นเงิน 10,380 บาท

      รวมเป็นเงิน 10,380 บาท

    งบประมาณ 10,380.00 บาท
  • 3. จัดตั้งธนาคารขยะ
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    • จัดตั้งธนาคารขยะภายในโรงเรียน

    • จัดตั้งคณะทำงานธนาคารขยะ โดยทุกวันพุธ ตอนเที่ยง จะมีการรับซื้อขยะจากห้องเรียนนักเรียน หรือผู้ปกครองนำมาขาย

    • ทางโรงเรียนนำขยะไปขายต่อที่โรงรับซื้อของเก่า

    • นำเงินที่ได้จากการขายขยะ ไปเข้ากองทุนอาหารกลางวันนักเรียน

    เป้าหมาย
    - ธนาคารขยะในโรงเรียน จำนวน 1 แห่ง

    งบประมาณ

    • กรงเหล็กสำหรับแขวนถุงดำ จำนวน 4 อัน ๆ ละ 590 บาท เป็นเงิน 2,360 บาท
    • ถุงดำ จำนวน 20 แพ็ค ๆ ละ 55 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท
    • เข่งหรือตะกร้าใส่ขยะ จำนวน 4 ใบ ๆ ละ 199 บาท เป็นเงิน 796 บาท
    • กระดานไวท์บอร์ด จำนวน 1 อัน ๆ ละ 890 บาท เป็นเงิน 890 บาท
    • ปากกาไวท์บอร์ด จำนวน 1 กล่อง ๆ ละ 280 บาท เป็นเงิน 280 บาท
    • คัตเตอร์ขนาดใหญ่ จำนวน 1 กล่อง เป็นเงิน 660 บาท
    • ใบมีดคัตเตอร์ จำนวน 1 กล่อง เป็นเงิน 240 บาท
    • ตาชั่งขนาด 15 กิโลกรัม เป็นเงิน 650 บาท.

    รวมเป็นเงิน 6,976 บาท

    งบประมาณ 6,976.00 บาท
  • 4. การจัดการขยะอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม
    4.1 ทางโรงเรียนได้มีการจัดทำขยะอินทรีย์จากขยะเปียก เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่นักเรียน และเป็นปุ๋ย กับต้นไม้ภายในบริเวณโรงเรียน โดยใช้วัสดุจากขยะเปียก เช่น ใบไม้ หญ้าเศษอาหารจากโรงครัวและ เศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานอาหารที่นักเรียนไม่สามารถทานได้ เช่น กระดูกสัตว์ น้ำ แกงที่เหลือ เปลือกผลไม้ เป็นต้น นำมาทำขยะอินทรีย์โดยการขุดหลุมแล้วนำถังพลาสติกมาใส่ในหลุมเทขยะเปียกใส่แล้วปิดฝา ทางโรงเรียนได้ขุดหลุมบริเวณใต้ต้นไม้เพื่อนำขยะเปียก เช่น เศษอาหารจากการรับประทานอาหารกลางวัน ใสในหลุมเพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งทางโรงเรียนได้ขุดหลุมดังกล่าวไว้หลายจุด ทั่วทั้งบริเวณโรงเรียนและทางโรงเรียนเพ่ิมพื้นที่ บริเวณแปลงผักของนักเรียน เพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์สำหรับแปลงผักของนักเรียน

    4.2 รณรงค์ให้แกนนำนักเรียน ป.4 - ป.6 จัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

    4.3 โรงเรียนดำเนินการจัดทำขยะอินทรีย์ จากขยะเปียกภายในบริเวณโรงเรียน โดยนำเศษอาหารที่เหลือจากอาหารกลางวัน มาใส่ลงในถังขยะเปียก ซึ่งมีจำนวนหลายจุดภายในโรงเรียน

    เป้าหมาย

    • ภายในโรงเรียนบ้านตูแตหรำ

    • บ้านนักเรียนชั้น ป.4-6

    งบประมาณ
    - ถังพลาสติดขนาด 50 ลิตร จำนวน 10 ใบ ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท - ถังพลาสติกขนาด 20 ลิตร จำนวน 12 ใบ ๆ ละ 89บาท เป็นเงิน 1,068 บาท - หัวแร้งไฟฟ้าแบบปืนจำนวน 5 ตัว ๆ ละ 168 บาท เป็นเงิน 840 บาท รวมเป็นเงิน 4,408 บาท

    งบประมาณ 4,408.00 บาท
  • 5. การจัดการขยะรีไซเคิลในโรงเรียนและชุมชน
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    • ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะ และนำกลับมาใช้ใหม่ โดยการประดิษฐ์เป็นของใช้สอย หรือเป็นผลงานของห้องเรียน
    • นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีการนำขยะรีไซเคิลบางอย่างที่มาจากการคัดแยกขยะมาทำสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถนำมาใช้งานได้ และเกิดประโยชน์เช่นถุงนมส่วนขยะที่ขายได้นำไปขายจัดตั้งธนาคารขยะโดยมีนักเรียนเป็นคณะกรรมการดำเนินงาน มีครูเป็นที่ปรึกษา มีการรับซื้อและ จัดการจำหน่ายจากนักเรียน ทำสมุดบัญชีสะสมเงินแก่นักเรียนการรับซื้อขยะจากนักเรียน สัปดาห์ละ 1 วันคือวันพุธตอนพักเที่ยง หลังรับประทานอาหารกลางวันเสร็จ

    • นักเรียนแต่ละห้องทำชิ้นงานจากขยะรีไซเคิล

      อนุบาล ที่รองจานจากถุงนม/ ประถมมหัศจรรย์กระดาษลังรักษ์โลก / ออมสินน้อยรักษ์สิ่งแวดล้อม / เปเปอร์มาเช่ / สะพายสะดวกใช้ / หมวกรักษ์โลก

    เป้าหมาย
    - นักเรียนทั้งหมด จำนวน 100 คน

    งบประมาณ
    - กรรไกรขนาดใหญ่ จำนวน 12 อัน ๆ ละ 75 บาทเป็นเงิน 900 บาท
    - เข็มขนาดกลาง จำนวน 2 โหล ๆ ละ 69 บาท เป็นเงิน 138 บาท
    -ไหมพรมคละสี จำนวน 15 ม้วน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท
    - ที่เจาะกระดาษ จำนวน 5 อัน ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 750 บาท
    - แพทเทิร์นหมวก จำนวน 2 อัน ๆ ละ 100 บาทเป็นเงิน 200 บาท
    - กระดาษห่อของขวัญ จำนวน 10 แผ่น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 100 บาท
    - กระดาษสีสองหน้า สีแดง,เหลือง,ชมพู,เขียว,ส้ม,ฟ้า,ม่วง อย่างละ 2 แผ่น ทั้งหมด 14 แผ่น ๆ ละ 14 บาท เป็นเงิน 196 บาท
    - กาว TOA ขวดใหญ่่ จำนวน 6 ขวด ๆ ละ 75 บาท เป็นเงิน 450 บาท
    - คัดเตอร์ขนาดใหญ่ จำนวน 12 ด้าม ๆ ละ 55 บาท เป็นเงิน 660 บาท
    - ใบมีดคัดเตอร์ขนาดใหญ่ จำนวน 2 กล่อง ๆ ละ 240 บาท เป็นเงิน 480 บาท
    - แผ่นรองตัดขนาด A4 จำนวน 4 แผ่น ๆ ละ 129 บาท เป็นเงิน 516 บาท
    - แผ่นรองตัดขนาด A3 จำนวน 1 แผ่น ๆ ละ 179 บาท เป็นเงิน 179 บาท
    - ไม้บรรทัดเหล็กยาว 45 เซนติเมตร จำนวน 6 อัน ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 210 บาท
    - กากเพชร จำนวน 5 ขวด ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 400 บาท
    - เชือกสายรุ้ง จำนวน 24 เส้น ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 960 บาท
    - ริบบิ้นเบอร์ 2 คละสี จำนวน 20 ม้วน ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 300 บาท
    - กระดุมสวยงาม จำนวน 100 เม็ด เป็นเงิน 400 บาท
    - ปืนกาวขนาดใหญ่ จำนวน 5 อัน ๆ ละ 180 บาท 900 บาท
    - แท่งกาวขนาดใหญ่ จำนวน 1 ห่อ ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 50 บาท
    - ลูกโป่ง จำนวน 2 แผง ๆ ละ 75 บาท เป็นเงิน 150 บาท
    - ตะกร้า ขนาดเล็ก จำนวน 4 ใบ ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 80 บาท
    - สีอะครีลิกชุดแม่สี 6 ขวด จำนวน 3 ชุด ๆ ละ 219 บาท เป็นเงิน 657 บาท
    - กาวสองหน้าแบบบาง ขนาด 3/8 นิ่้ว จำนวน 10 ม้วน ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 350 บาท
    - สก็อตเทปใสขนาด 3/8 นิ้ว จำนวน 1 แพ็ค เป็นเงิน 324 บาท
    - กระดาษ A4 จำนวน 2 ลัง ๆ ละ 750 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    - พู่กันเบอร์ 24 จำนวน 10 อัน ๆ ละ 110 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท
    - โบว์ผ้าสำเร็จรูป 13 อัน ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 260 บาท
    - ริบบิ้นผ้า จำนวน 12 ม้วน ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 360 บาท
    - ด้ายสีฟ้า จำนวน 3 หลอด ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 45 บาท
    รวมเป็นเงิน 13,365 บาท

    งบประมาณ 13,365.00 บาท
  • 6. รายงานผลโครงการ
    รายละเอียด
    • ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผล จำนวน 4 เล่มๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
    งบประมาณ 1,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 6 ธันวาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านตูแตหรำและชุมชนบ้านตูแตหรำ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 74,004.00 บาท

หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในทุกกิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. ครู นักเรียน บุคลากรทางศึกษาและผู้ปกครอง สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่และปริมาณขยะในชุมชน และโรงเรียนลดลง ๒. ครู นักเรียน บุคลากรทางศึกษาและผู้ปกครอง มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 74,004.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................