กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเด็กตะโละสุขภาพดี ชีวีเป็นสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละ

- เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 32 คน
- ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กจำนวน 32 คน
- อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละ จำนวน 42 คน
- ครูและพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 2 คน
- เด็กนักเรียนประจำศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 30 คน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 138
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “เด็กปุลากงสุขภาพดี ชีวีเป็นสุข”

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงคณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เกี่ยวกับกิจกรรมที่ดำเนินขึ้นในโครงการ “เด็กปุลากงสุขภาพดี ชีวีเป็นสุข”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการจัดประชุมชี้แจงคณะทำงานและ อาสาสมัครสาธารณสุข
    จำนวน 42 คน ๆ ละ 25 บาท 1 ครั้ง                เป็นเงิน 1,050 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1050.00

กิจกรรมที่ 2 เวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กลุ่มผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เพื่อค้นหาสาเหตุ และระดมสมอง ความคิดเห็น ค้นหากิจกรรมหรือสิ่งที่ผู้ปกครองอยากให้ช่วยในการแก้ปัญหาร่วมกัน

ชื่อกิจกรรม
เวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ กลุ่มผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ เพื่อค้นหาสาเหตุ และระดมสมอง ความคิดเห็น ค้นหากิจกรรมหรือสิ่งที่ผู้ปกครองอยากให้ช่วยในการแก้ปัญหาร่วมกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 32 คน ๆ ละ 50 บาท 1 มื้อ
                                       เป็นเงิน 1,600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 32 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ
    เป็นเงิน 1,600 บาท
    • ค่าป้ายโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ในราคาตารางเมตรละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    • ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์                      เป็นเงิน    2,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7750.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรียนรู้ สู่การปฏิบัติ ในหัวข้อ “การดูแลเด็กน้อยทั้ง 4 ด้าน” ในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กและครูประจำศูนย์เด็ก

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรียนรู้ สู่การปฏิบัติ ในหัวข้อ “การดูแลเด็กน้อยทั้ง 4 ด้าน” ในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กและครูประจำศูนย์เด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 50 คนๆ ละ 50 บาท 1 มื้อ
                                       เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
    • วัตถุดิบและอุปกรณ์ในการสาธิตตัวอย่างเมนูอาหาร เพื่อพัฒนาโภชนาการ และเมนูลดภาวะซีด
                                  เป็นเงิน 3,000 บาท
    • ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์                      เป็นเงิน 3,650 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กและครูประจำศูนย์เด็ก  มีความรู็เกียวกับอาหารที่เหมาะกับเด็ก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11650.00

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง โดยการสนับสนุนอาหารเสริมที่อุดมด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตคุณภาพสูง ยาเสริมธาตุเหล็ก เครื่องตรวจความเข้มข้นฮีโมลโกบิน(ฮีโมคิว) แก่เด็กที่เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเด็กที่มีภาวะโลหิตจาง โดยการสนับสนุนอาหารเสริมที่อุดมด้วยโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตคุณภาพสูง ยาเสริมธาตุเหล็ก เครื่องตรวจความเข้มข้นฮีโมลโกบิน(ฮีโมคิว) แก่เด็กที่เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่านม จำนวน 32 คน วันละ 2 กล่องๆ 10 บาท 100 วัน          เป็นเงิน 64,000 บาท
  • ค่าไข่ จำนวน 32 คน เดือนละ 2 แผง ๆ ละ 130 บาท 3 เดือน    เป็นเงิน 24,960   บาท
  • ค่าเครื่องตรวจความเข้มข้นฮีโมโกลบิน(ฮีโมคิว)                                     เป็นเงิน 35,000 บาท
  • ค่าตอบแทนรางวัลเด็กที่มีภาวะโภชนาการดีขึ้นดีที่สุดในรอบ 3 เดือน 3 อันดับแรก
    รางวัลละ 500 บาท จำนวน 3 รางวัล                เป็นเงิน    1,500  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กได้รับเจาะเลือดตรวจภาวะซีด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
125460.00

กิจกรรมที่ 5 ปฏิบัติการ ติดตามและประเมินการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี

ชื่อกิจกรรม
ปฏิบัติการ ติดตามและประเมินการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ติดตามชั่งน้ำหนักในเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ (เด็กผอม) ทุก 2 สัปดาห์ ใน 1 เดือนแรก
    • ติดตามชั่งน้ำหนักในเด็กที่มีความเสี่ยงต่อภาวะโภชนาการต่ำ (เด็กค่อนข้างผอม) ทุก 1 เดือน            - ติดตามและประเมินผลภาวะทุพโภชนาการทุก 1 เดือน จนครบ 100 วัน และหลังจากนั้นติดตามทุก 3 เดือน และ 6 เดือน
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กได้รับการชั่งน้ำหนัก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมถอดบทเรียน/ Focus group ในกลุ่มผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ และสรุปผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมถอดบทเรียน/ Focus group ในกลุ่มผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ และสรุปผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน
    จำนวน 32 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 3 ครั้ง           เป็นเงิน 2,400 บาท
    • ค่าจัดทำเอกสาร                        เป็นเงิน 1,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กมีภาวะทุพโภชนาการอยู่ในปกติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 149,310.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กได้รับการตรวจประเมินภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาได้รับการแก้ไข ทุกคน


>