กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการศิลปะบำบัดด้วยการปั้น โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ) ประจำปี 2566
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ)
กลุ่มคน
1. นางสาวจันทร์เพ็ญ จริงจิตร ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โทร. 099-2894197
2. นางสาวนาตยาง่ายดี ตำแหน่งครู โทร. 084 - 7494273
3. นางสาวโชษิตา ศรีสุวรรณ์ตำแหน่งครู โทร. 084-0797514
4. นางสาวโนรซี เจ๊ะอาแซ ตำแหน่งครูโทร. 087-3931416
5. นางสาวนูรฮาซีกีณ บูละ ตำแหน่งพนักงานจ้างเหมาบริการ (ครูผู้สอน) โทร.089-4652235
3.
หลักการและเหตุผล

ศิลปะบำบัด พัฒนาสุขภาพจิต สร้างเสริมความคิด โดยกระบวนการทางศิลปะบำบัดนั้นจะช่วยดูแลสภาพจิตใจของคนเราได้อย่างไรบ้าง เกิดความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ลักษณะของความคิดที่มีหลายมิติ สามารถคิดได้กว้างไกล ไร้กรอบและขอบเขต ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ช่วยให้มีความคิดแปลกใหม่เกิดการนำความรู้เดิมมาดัดแปลงให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ ความคล่องแคล่ว ช่วยให้เกิดความคิดที่รวดเร็ว ไม่ซ้ำในเรื่องเดียวกัน ไม่หมกมุ่น นำมาซึ่งการพูดและการกระทำที่คล่องแคล่ว ความยืดหยุ่น ช่วยให้เกิดความคิดที่หลากหลายมุมมอง ไม่ยึดติด ไม่ซ้ำรูปแบบกรอบความคิดแบบเดิมๆ ความละเอียดลออ ช่วยให้มีความพิถีพิถันในการทำสิ่งต่าง ๆ ช่างสังเกตในสิ่งที่คนอื่นมองข้ามโดยความคิดสร้างสรรค์ทั้ง 4 ข้อนี้จะนำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งแปลกใหม่ และบูรณาการองค์ความรู้ต่างๆ ที่ได้จากประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงกับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ใหม่ แล้วสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่หรืออาจส่งผลให้เกิดเป็นนวัตกรรมตามมาได้ ช่วยแก้ปัญหาทางอารมณ์และจิตใจ ศิลปะจะทำให้ผู้ที่มีปัญหาทางอารมณ์และจิตใจได้ระบายความคับข้องใจหรือความรู้สึกที่ซุกซ่อนอยู่ในใจผ่านงานด้านศิลปะอันหลากหลาย จึงช่วยให้จิตใจผ่อนคลาย ลดความขุ่นมัวในใจ เข้าใจและรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ของตนเองได้ดีขึ้น สามารถยับยั้งและควบคุมอารมณ์ได้ดีขึ้นด้วย เสริมสร้างทักษะสังคม โดยการทำกิจกรรมศิลปะร่วมกันเป็นกลุ่ม ทำให้รู้จักการรอคอย ผลัดกันทำและได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้ที่จะแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความต้องการของตนเอง และสามารถเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่นผ่านงานศิลปะ ทำให้กล้ามเนื้อมีการพัฒนาและการเคลื่อนไหวที่ดี ศิลปะตอบสนองการเคลื่อนไหวของร่างกายอย่างมีอิสระและเป็นธรรมชาติ ซึ่งจะทำให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาของกล้ามเนื้อ โดยสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวอย่างเป็นขั้นเป็นตอน และบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้จากข้อมูลของศิลปะบำบัดในประเทศไทยพบว่า ส่วนใหญ่มักถูกมองเป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับผู้ที่มีปัญหาทางด้านจิตใจ โดยเฉพาะกับเด็กพิเศษหรือเด็กที่เป็นออทิสติก สมาธิสั้น แถมยังถูกนำมาใช้ประโยชน์น้อยมาก ทั้ง ๆ ที่เป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ซึ่งต่างกับในต่างประเทศที่ได้มีการนำศิลปะบำบัดมาใช้อย่างแพร่หลาย แม้กระทั่งกับบุคคลทั่วไป เพราะเขาถือว่าศิลปะบำบัดเป็นการระบายออกทางอารมณ์ที่ดีทางหนึ่ง และตามความเป็นจริงแล้วศิลปะบำบัดไม่ได้เป็นเครื่องมือเพื่อใช้รักษาผู้ป่วยเท่านั้น แต่กับคนปกติเองไม่ว่าจะเป็นวัยใดหรือเพศใดก็สามารถนำศิลปะบำบัดมาใช้ประโยชน์ได้กับชีวิตและจิตใจเช่นเดียวกัน งานศิลปะจึงเป็นศาสตร์วิชาแขนงหนึ่งที่นับว่าให้ประโยชน์อย่างมากหากรู้จักนำมาใช้ให้ถูกต้อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อฝึกให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 85.00
  • 2. เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 85.00
  • 3. เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีทักษะด้านสังคมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 85.00
  • 4. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ศิลปะบำบัดด้วยการปั้น
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้น ป.1 - 6 จำนวน 82 คน
    รายละเอียดกิจกรรม
    - อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนชั้น ป.1 - 6 จำนวน 82 คน แบ่งการอบรมเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 6 ชั่วโมง
    รุ่นที่ 1 นักเรียนชั้น ป.1 - 3 จำนวน 49 คน (15 ก.พ.65)
    รุ่นที่ 2 นักเรียนชั้น ป.4 - 6 จำนวน 33 คน (16 ก.พ.65)
    กำหนดการ
    08.30 - 08.45 น. พิธีเปิดโครงการ / กิจกรรมสันทนาการ
    08.46 - 11.45 น. อบรมในหัวข้อ ทำไมต้องเรียนศิลปะ , ศิลปะสร้างสมาธิได้อย่างไร พร้อมสาธิตวิธีการเลือกใช้ดินน้ำมัน/ สาธิตวิธีการปั้นตามแบบ และตามจินตนาการ และฝึกปฏิบัติ (วิทยากรกลุ่มจาก โรงเรียนเทศบาล 1 ,3, 4)
    11.46 - 12.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
    12.31 - 15.30 น. กิจกรรมศิลปะสร้างสมาธิ/สาธิตวิธีการเลือกใช้ดินน้ำมัน/ สาธิตวิธีการปั้นตามแบบ และตามจินตนาการ และฝึกปฏิบัติ (วิทยากรกลุ่มจาก โรงเรียนเทศบาล 1 ,3, 4) (ต่อ)
    15.31 - 15.45 น. สรุปความรู้ที่ได้รับจากการอบรม / จัดแสดงผลงาน
    งบประมาณ ดังนี้
    1. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วย
    - ดินน้ำมันไร้สารพิษ ชุดละ 180 บาท x 50 ชุด = 9,000 บาท
    - ชุดเครื่องมือปั้น ชุดละ 60 บาท x 50 ชุด = 3,000 บาท
    - กระดาษโฟโต้บอร์ด ขนาด A4 แพคละ 260 บาท x 15 แพค = 3,900 บาท
    2. ค่าตอบแทนวิทยากร300 บาทต่อชั่วโมง x 4 คน x 6 ชั่วโมง x 2 รุ่น = 14,400 บาท
    3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 82 คน= 2,460 บาท
    4. ค่าจัดทำป้ายโครงการ=1,200 บาท

    งบประมาณ 33,960.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านตันหยงมะลิ)

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 33,960.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น
  2. นักเรียนได้รับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในทางที่ถูกต้อง
  3. นักเรียนมีทักษะด้านสังคมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
  4. นักเรียนมีสุขภาพจิตและอารมณ์ที่ดีขึ้นจากการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 33,960.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................