กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากตำบลแหลมโตนดอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2566

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากตำบลแหลมโตนดอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพ เทศบาลตำบลแหลมโตนด

รพ.สต.แหลมโตนด

ตำบลแหลมโตนด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

80.00
2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ

 

80.00
3 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น

 

20.00
4 ร้อยละเด็กอายุ0-2ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

70.00
5 ร้อยละเด็กอายุ0-2ปีผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ

 

70.00
6 ร้อยละเด็กอายุ0-2ปี ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช

 

50.00
7 ร้อยละเด็กอายุ3-5ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

80.00
8 ร้อยละเด็ก3-5ปี ได้รับบริการเคลือบฟลูออไรด์ทันตกรรม

 

80.00
9 ร้อยละเด็กอายุ6-12ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

70.00
10 ร้อยละเด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ที่1

 

50.00
11 ร้อยละเด็กอายุ6-12ปีได้รับบริการทางทันตกรรมตามความจำเป็น

 

50.00
12 ร้อยละเด็กอายุ13ปีได้รับการตรวจช่องปาก

 

80.00
13 ร้อยละเด็กอายุ13ปีได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น

 

80.00
14 ร้อยละเด็กอายุ13ปี ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ

 

80.00
15 ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

60.00
16 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

 

60.00
17 ร้อยละ20วัยทำงานได้รับการตรวจช่องปาก

 

20.00

ัญหาโรคในช่องปากเป็นปัญหาที่พบมากในประชากรทุกวัย ธรรมชาติการเกิดโรคในช่องปาก จะมี
พัฒนาการไปตามช่วงวัย เริ่มจากปัญหาการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็ก เยาวชน ไปจนถึงปัญหาการสูญเสียฟัน ในวัย
ท างานและผู้สูงอายุ ปัญหาโรคฟันผุจึงเป็นปัญหาส าคัญที่เป็นจุดเริ่มต้นของความบกพร่องใน การท างานของอวัยวะ
ในช่องปาก นอกจากนี้ปัญหาโรคปริทันต์ที่มีความสัมพันธ์กับ Metabolic disease ซึ่งเริ่มตั้งแต่โดยช่วงตั้งครรภ์จะ
พบเหงือกอักเสบ โรคปริทันต์และฟันผุมากกว่าปกติ ส านักทันตสาธารณสุขผลจากการส ารวจครั้งล่าสุดครั้งที่ 8 พ.ศ.2560 พบว่าเด็กอายุ 3 และ 5ปี มีประสบการณ์ฟัน
น้ านมผุ ร้อยละ 52.9 และร้อยละ 75.6 เยาวชนกลุ่มอายุ 12 ปีและ15 ปีมีประสบการณ์ฟันแท้ผุ ร้อยละ52.0
โดยปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสภาวะทันตสุขภาพคือ การแปรงฟัน กลุ่มวัยท างานอายุ 35-44 ปี มีปัญหา
สภาวะเหงือกอักเสบ ร้อยละ 62.4 และยังพบปัญหาโรคฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 35.2 ส่วนกลุ่ม
ผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุ 60-74 ปี สูญเสียฟันบางส่วนร้อยละ 98.5 สูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 7.2 และมีอัตรา
การสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามอัตราการเพิ่มขึ้นของอายุ ผู้สูงอายุมีการแปรงฟันก่อนนอนเพียงร้อยละ
๖๕.๕ และนอกจากนี้จากการศึกษาของส านักทันตสาธารณสุข พบว่า หญิงตั้งครรภ์มีฟันผุเฉลี่ยคนละ 6.6 ซี่ และ
ร้อยละ 90.4 มีเหงือกอักเสบ การส่งเสริม สุขภาพ สร้างทัศนคติและทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากหญิง
ตั้งครรภ์จะส่งผลต่อการดูแลลูกในอนาคต ในเด็กปฐมวัย ปัจจุบันพบเด็กมีฟันผุตั้งแต่อายุ 9 เดือน และผุมากขึ้นตาม
วัย เด็กไทยอายุ 3 ปีมีฟันผุแล้วถึงร้อยละ 52.9 ( ส านักทันตสาธารณสุข ) โรค
ฟันผุ ในวัยเด็กส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ มีการศึกษาพบว่าการมีฟันผุหลายซี่ในปากมี
ความสัมพันธ์กับภาวะแคระแกรนของเด็ก การสูญเสียฟันน้ านมไปก่อนก าหนดท าให้เด็กรับประทานอาหาร ล าบาก
เคี้ยวไม่สะดวก และเด็กที่มีฟันน้ านมผุมากจะมีผลให้ฟันแท้ผุมากขึ้นด้วย กลุ่มวัยเด็กจะเริ่มเข้าสู่ระบบการศึกษา
นับตั้งแต่มีอายุเพียง 3 ปีโดยเริ่มจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเข้าเรียนต่อในชั้นอนุบาลของโรงเรียนจนไปสู่ระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตามการศึกษาภาคบังคับของประเทศไทย ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีการพัฒนาพฤติกรรมจน
เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และปัญหาโรคฟันผุยังเป็นปัญหาที่พบมากในกลุ่มวัยนี้ซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ การ
ส ารวจสภาวะทันตสุขภาพของประเทศไทย ปี2560 พบว่าเด็กประถมศึกษามีโรคฟันผุร้อยละ 52
การจัดการปัญหาการเกิดโรคฟันผุในเด็กที่อยู่ในสถานศึกษาหรือระบบสถาบันจึงเป็นวิธีการ ที่นอกจากจะสามารถ
ปูองกันปัญหาการเกิดโรคฟันผุได้แล้วยังเป็น กระบวนการที่สามารถฝีกวินัยและสร้างเสริมพฤตกรรมสุขภาพที่ดีให้แก่
เด็กด้วย
จากการส ารวจทันตสุขภาพตำบลแหลมโตนด ปี 2565 พบว่า เด็กกลุ่มอายุ 12 ปีฟันผุ ร้อยละ
45.45เด็กกลุ่มอายุ 9ปี ฟันผุร้อย24.32 เด็กกลุ่มอายุ 3 ปี ฟันผุร้อยละ 7.14 จากการส ารวจทันตสุขภาพตำบลแหลมโตนด ปี 2564 พบว่า
เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุ ร้อยละ 9.52 เด็กประถมศึกษาอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ 58.06 และ
ซึ่งจะเห็นได้ว่าแม้อัตราการเกิดฟันผุในกลุ่มเด็กอายุ 3ปี
และ12 ปี ในเขตตำบลแหลมโตนดจะดีขึ้น แต่ยังมีปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กวัยเรียนและยังคงพบปัญหาทางทันตสุขภาพ
ในช่วงกลุ่มวัยต่างๆอยู่มาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโตนด จึงได้จัดท าโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและ
ปูองกันโรคในช่องปาก ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในเขตอ าเภอแหลมโตนด ในทุกกลุ่มอายุได้รับ
การดูแลทางทันตสุขภาพอย่างทั่วถึงและมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีขึ้นต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื้นฟู

การเข้าถึงบริการทันตกรรม

40.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 340
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/10/2022

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากหญิงตั้งครรภ์

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากหญิงตั้งครรภ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ -ค่าแปรงสีฟันผู้ใหญ่จำนวน20ด้ามๆละ12บาทเป็นเงิน240บาท -ยาสีฟัน160กรัมจำนวน20หลอดๆละ45บาทเป็นเงิน900บาท -ไหมขัดฟันจำนวน20อันๆละ25บาทเป็นเงิน500บาท -กระเป๋าผ้าจำนวน20ใบๆละ25บาทเป็นเงิน500บาท 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปาก ร้อยละ80 2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติร้อยละ80 3.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็นร้อยละ20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2140.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ0-2ปี

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ0-2ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เด็กอายุ0-2ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.ผู้ปกครองเด็กอายุ0-2ปีได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ-ค่าแปรงสีฟันเด็กจำนวน70ด้ามๆละ12บาทเป็นเงิน840บาท -ยาสีฟันเด็ก40กรัมจำนวน 70หลอดๆละ25 บาทเป็นเงิน1,750บาท-ถุงนิ้วจำนวน 70แพ็คๆละ15บาทเป็นเงิน1,050บาท 3.เด็กอายุ0-2ปีได้รับบริการเคลือบฟลูออไรด์วานิช-ค่าฟลูออไรด์วานิชแบบซอง35ซองๆละ70บาท เป็นเงิน2,450บาท-พู่กันทาฟลูออไรด์2กล่องๆละ150บาทเป็นเงิน300บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เด็กอาุ0-2ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ70 -ผู้ปกครองเด็ก0-2ปีได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติร้อยละ70 -เด็กอายุ0-2ปีได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิชร้อยละ50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6390.00

กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ3-5ปี

ชื่อกิจกรรม
3.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ3-5ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เด็ก3-5ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก -ค่าถ่ายเอกสารใบตรวจฟันและใบนัดทำฟันจำนวน600แผ่นๆละ50สต.เป็นเงิน300บาท 2.เคลือบฟลูออไรด์วานิช -ค่าพู่กันทาฟลูออไรด์2กล่องๆละ150บาทเป็นเงิน300บาท -ค่าฟลูออไรด์วานิชแบบซอง40ซองๆละ70บาทเป็นเงิน2,800บาท 3.สอนการแปรงฟัน -ค่าแปรงสีฟันเด็กจำนวน80ด้ามๆละ12บาทเป็นเงิน960บาท -ยาสีฟันเด็ก40กรัมจำนวน80หลอดๆละ25บาทเป็นเงิน2,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กอายุ3-5ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ80 เด็ก3-5ปีได้รับบริการทันตกรรมที่จำเป็นร้อยละ80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6360.00

กิจกรรมที่ 4 4.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพแลป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ6-12ปี

ชื่อกิจกรรม
4.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพแลป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ6-12ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ตรวจสุขภาพช่องปาก -ค่าถ่ายเอกสารใบตรวจฟันและใบนัดทำฟันจำนวน1,000แผ่นๆละ50สตางค์เป็นเงิน500บาท 2.ให้ความรู้และสอนแปรงฟัน -ป้ายไวนิลแบบRoll upพร้อมกระเป๋าเก็บ2ชุดๆละ1,700บาท รวมเป็นเงิน 3,400บาท -ค่าแปรงสีฟันเด็กจำนวน310ด้ามๆละ12บาทเป็นเงิน3,720บาท -ยาสีฟัน40กรัมจำนวน310หลอดๆละ15บาทเป็นเงิน4,650บาท 3.เคลือบฟลูออไรด์วานิช -ค่าฟลูออไรด์วานิชแบบซอง 100 ซองๆ70บาทเป็นเงิน7,000บาท -พู่กันทาฟลูออไรด์4กล่องๆละ150บาทเป็นเงิน600บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กอายุ6-12ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ70 2.เด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ที่1ร้อยละ50 3.เด็กอายุ6-12ปีได้รับบริการตามที่จำเป็นร้อยละ50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19870.00

กิจกรรมที่ 5 5.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
5.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ตรวจสุขภาพช่องปาก 2.ให้บรืการทันตกรรมตามที่จำเป็น 3.ฝึกการแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ -ค่าแปรงสีฟันจำนวน300ด้ามๆละ12บาทเป็นเงิน3,600บาท -ยาสีฟัน160กรัมจำนวน300หลอดๆละ45บาทเป็นเงิน13,500บาท -กระเป๋าผ้า จำนวน300ใบๆละ25บาทเป็นเงิน7,500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้อายุได้รับการตรวจช่องปากร้อยละ60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24600.00

กิจกรรมที่ 6 6.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
6.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1กิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากและฝึกการแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ -ค่าแปรงสีฟันจำนวน190ด้ามๆละ12บาทเป็นเงิน2,280บาท -ยาสีฟัน160กรัมจำนวน190หลอดๆละ45บาทเป็นเงิน8,550บาท -กระเป๋าผ้าจำนวน190ใบๆละ25บาทเป็นเงิน4,750บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ60

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15580.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 74,940.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงบริการทันตกรรมด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู


>