กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากตำบลแหลมโตนดอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3326-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.แหลมโตนด
วันที่อนุมัติ 17 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 กุมภาพันธ์ 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 74,940.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวแพรวผกา ศักดิ์ดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ เทศบาล ตำบลแหลมโตนด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 เม.ย. 2566 27 ก.ย. 2566 21 เม.ย. 2566 27 ก.ย. 2566 74,940.00
รวมงบประมาณ 74,940.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 340 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
80.00
2 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ
80.00
3 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
20.00
4 ร้อยละเด็กอายุ0-2ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
70.00
5 ร้อยละเด็กอายุ0-2ปีผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ
70.00
6 ร้อยละเด็กอายุ0-2ปี ได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช
50.00
7 ร้อยละเด็กอายุ3-5ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
80.00
8 ร้อยละเด็ก3-5ปี ได้รับบริการเคลือบฟลูออไรด์ทันตกรรม
80.00
9 ร้อยละเด็กอายุ6-12ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
70.00
10 ร้อยละเด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ซี่ที่1
50.00
11 ร้อยละเด็กอายุ6-12ปีได้รับบริการทางทันตกรรมตามความจำเป็น
50.00
12 ร้อยละเด็กอายุ13ปีได้รับการตรวจช่องปาก
80.00
13 ร้อยละเด็กอายุ13ปีได้รับบริการทันตกรรมตามความจำเป็น
80.00
14 ร้อยละเด็กอายุ13ปี ได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฎิบัติ
80.00
15 ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
60.00
16 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
60.00
17 ร้อยละ20วัยทำงานได้รับการตรวจช่องปาก
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ัญหาโรคในช่องปากเป็นปัญหาที่พบมากในประชากรทุกวัย ธรรมชาติการเกิดโรคในช่องปาก จะมี พัฒนาการไปตามช่วงวัย เริ่มจากปัญหาการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็ก เยาวชน ไปจนถึงปัญหาการสูญเสียฟัน ในวัย ท างานและผู้สูงอายุ ปัญหาโรคฟันผุจึงเป็นปัญหาส าคัญที่เป็นจุดเริ่มต้นของความบกพร่องใน การท างานของอวัยวะ ในช่องปาก นอกจากนี้ปัญหาโรคปริทันต์ที่มีความสัมพันธ์กับ Metabolic disease ซึ่งเริ่มตั้งแต่โดยช่วงตั้งครรภ์จะ พบเหงือกอักเสบ โรคปริทันต์และฟันผุมากกว่าปกติ ส านักทันตสาธารณสุขผลจากการส ารวจครั้งล่าสุดครั้งที่ 8 พ.ศ.2560 พบว่าเด็กอายุ 3 และ 5ปี มีประสบการณ์ฟัน น้ านมผุ ร้อยละ 52.9 และร้อยละ 75.6 เยาวชนกลุ่มอายุ 12 ปีและ15 ปีมีประสบการณ์ฟันแท้ผุ ร้อยละ52.0 โดยปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสภาวะทันตสุขภาพคือ การแปรงฟัน กลุ่มวัยท างานอายุ 35-44 ปี มีปัญหา สภาวะเหงือกอักเสบ ร้อยละ 62.4 และยังพบปัญหาโรคฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 35.2 ส่วนกลุ่ม ผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุ 60-74 ปี สูญเสียฟันบางส่วนร้อยละ 98.5 สูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 7.2 และมีอัตรา การสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามอัตราการเพิ่มขึ้นของอายุ ผู้สูงอายุมีการแปรงฟันก่อนนอนเพียงร้อยละ ๖๕.๕ และนอกจากนี้จากการศึกษาของส านักทันตสาธารณสุข พบว่า หญิงตั้งครรภ์มีฟันผุเฉลี่ยคนละ 6.6 ซี่ และ ร้อยละ 90.4 มีเหงือกอักเสบ การส่งเสริม สุขภาพ สร้างทัศนคติและทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากหญิง ตั้งครรภ์จะส่งผลต่อการดูแลลูกในอนาคต ในเด็กปฐมวัย ปัจจุบันพบเด็กมีฟันผุตั้งแต่อายุ 9 เดือน และผุมากขึ้นตาม วัย เด็กไทยอายุ 3 ปีมีฟันผุแล้วถึงร้อยละ 52.9 ( ส านักทันตสาธารณสุข ) โรค ฟันผุ ในวัยเด็กส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ มีการศึกษาพบว่าการมีฟันผุหลายซี่ในปากมี ความสัมพันธ์กับภาวะแคระแกรนของเด็ก การสูญเสียฟันน้ านมไปก่อนก าหนดท าให้เด็กรับประทานอาหาร ล าบาก เคี้ยวไม่สะดวก และเด็กที่มีฟันน้ านมผุมากจะมีผลให้ฟันแท้ผุมากขึ้นด้วย กลุ่มวัยเด็กจะเริ่มเข้าสู่ระบบการศึกษา นับตั้งแต่มีอายุเพียง 3 ปีโดยเริ่มจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเข้าเรียนต่อในชั้นอนุบาลของโรงเรียนจนไปสู่ระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตามการศึกษาภาคบังคับของประเทศไทย ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีการพัฒนาพฤติกรรมจน เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และปัญหาโรคฟันผุยังเป็นปัญหาที่พบมากในกลุ่มวัยนี้ซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ การ ส ารวจสภาวะทันตสุขภาพของประเทศไทย ปี2560 พบว่าเด็กประถมศึกษามีโรคฟันผุร้อยละ 52
การจัดการปัญหาการเกิดโรคฟันผุในเด็กที่อยู่ในสถานศึกษาหรือระบบสถาบันจึงเป็นวิธีการ ที่นอกจากจะสามารถ ปูองกันปัญหาการเกิดโรคฟันผุได้แล้วยังเป็น กระบวนการที่สามารถฝีกวินัยและสร้างเสริมพฤตกรรมสุขภาพที่ดีให้แก่ เด็กด้วย จากการส ารวจทันตสุขภาพตำบลแหลมโตนด ปี 2565 พบว่า เด็กกลุ่มอายุ 12 ปีฟันผุ ร้อยละ 45.45เด็กกลุ่มอายุ 9ปี ฟันผุร้อย24.32 เด็กกลุ่มอายุ 3 ปี ฟันผุร้อยละ 7.14 จากการส ารวจทันตสุขภาพตำบลแหลมโตนด ปี 2564 พบว่า เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุ ร้อยละ 9.52 เด็กประถมศึกษาอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุร้อยละ 58.06 และ ซึ่งจะเห็นได้ว่าแม้อัตราการเกิดฟันผุในกลุ่มเด็กอายุ 3ปี และ12 ปี ในเขตตำบลแหลมโตนดจะดีขึ้น แต่ยังมีปัญหาโรคฟันผุในกลุ่มเด็กวัยเรียนและยังคงพบปัญหาทางทันตสุขภาพ ในช่วงกลุ่มวัยต่างๆอยู่มาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโตนด จึงได้จัดท าโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและ ปูองกันโรคในช่องปาก ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในเขตอ าเภอแหลมโตนด ในทุกกลุ่มอายุได้รับ การดูแลทางทันตสุขภาพอย่างทั่วถึงและมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีขึ้นต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตกรรมของประชาชนด้านส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื้นฟู

การเข้าถึงบริการทันตกรรม

40.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 74,940.00 0 0.00
3 ต.ค. 65 - 31 ส.ค. 66 1.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากหญิงตั้งครรภ์ 0 2,140.00 -
3 ต.ค. 65 - 31 ส.ค. 66 2.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ0-2ปี 0 6,390.00 -
3 ต.ค. 65 - 31 ส.ค. 66 3.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ3-5ปี 0 6,360.00 -
3 ต.ค. 65 - 31 ส.ค. 66 4.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพแลป้องกันโรคในช่องปากเด็กอายุ6-12ปี 0 19,870.00 -
3 ต.ค. 65 - 31 ส.ค. 66 5.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ 0 24,600.00 -
3 ต.ค. 65 - 31 ส.ค. 66 6.กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน 0 15,580.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยเข้าถึงบริการทันตกรรมด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2565 14:18 น.