กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ รหัส กปท. L2511

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรมผู้สูงอายุ
กลุ่มคน
1. นางคนึงนิตย์ นุ้ยไกร
2. นางบุบผา ยีมะ
3. นางประไพ บรรดิษ
4. นางวัลลภา คงสง
5. นางเจียมจิตร บกเขาแดง
3.
หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นที่ยอมรับและมีบทบาทมากขึ้น โดยมีนโยบายของรัฐบาลสนับสนุนให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยได้อย่างทั่วถึง เนื่องจากมีการนำยาสมุนไพรบางชนิดเข้ามาทดแทนยาแผนปัจจุบัน ลดการใช้ยาที่จะส่งผลต่อตับและไตภายหลัง ซึ่งในปัจจุบันสามารถเลือกการรักษาได้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาภายนอกสู่ภายในด้านการแพทย์แผนไทย เช่น การอบสมุนไพร การสุมยา การดูแลและฟื้นฟูมารดาหลังคลอด การนวดบำบัดรักษาโรค การประคบสมุนไพร ประชาชนส่วนใหญ่จะมีอาการปวดเมื่อยจากการทำงาน จากการเคลื่อนไหวผิดจังหวะ ทำให้เกิดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ เคล็ดขัดยอก จึงต้องหาวิธีการต่างๆ เพื่อให้อาการปวดทุเลาลง โดยหายามาทาหรือรับประทาน การใช้ยาสมุนไพรในการบำบัดโรคเบื้องต้น รวมถึงการนวดบำบัดรักษาโรค และการใช้ลูกประคบสมุนไพรในปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ซึ่งการนวดจะต้องควบคู่ไปกับการประคบสมุนไพร เพื่อบำบัดรักษาโรคให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

ดังนั้นลูกประคบสมุนไพรจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นวิธีการบำบัดรักษาของการแพทย์แผนโบราณ โดยการนำลูกประคบสมุนไพรมาประคบบริเวณที่เจ็บปวด เคล็ดขัดยอก ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ โดยอาศัยความร้อนและคุณสมบัติของลูกประคบสมุนไพร ทำให้อาการดีขึ้น คนไทยนิยมใช้ ลูกประคบสมุนไพร รักษากันมาแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน โดยมักใช้รักษาควบคู่กับการนวดไทย คือ หลังจากนวดบำบัดรักษาโรคเสร็จแล้วจึงนำลูกประคบสมุนไพรประคบไปตามร่างกาย ผลของความร้อนที่ได้จากการประคบ ทำให้หลอดเลือดฝอยขยายตัว และตัวยาสมุนไพรที่โดนความร้อน จะซึมผ่านชั้นผิวหนังเข้าสู่ร่างกายและยังช่วยทำให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อลดปวด ช่วยลดการบวมที่เกิดจาการอักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ และช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต

ด้วยเหตุดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมบ้านนาโอนได้เล็งเห็นความสำคัญของการนวดด้วยลูกประคบและการผลิตลูกประคบสมุนไพร เพื่อนำไปใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ เคล็ดขัดยอก สร้างสายใยภายในครอบครัวด้วยการนวดประคบผ่อนคลายจากการทำงานให้กับสมาชิกในครอบครัว และโดยเฉพาะการนำลูกประคบสมุนไพรมาใช้ดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างโดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนผู้ที่สนใจได้นำความรู้ที่ได้ไปดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ ทำให้ประชาชนในชุมชนตระหนัก และเห็นคุณค่าของสมุนไพรไทย โดยการนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและผลิตลูกประคบสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือนได้ด้วย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และผลิตลูกประคบสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และผลิตลูกประคบสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรอย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรอย่างถูกต้อง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมผู้สูงอายุที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    รายละเอียด

    อบรมผู้สูงอายุที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการทำลูกประคบสมุนไพรในกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 100 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 50 คน


    - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คนๆ ละ 60 บาท x 1 วัน เป็นเงิน 6,000 บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆ ละ 30 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
    งบประมาณ 12,000.00 บาท
  • 2. สาธิตการทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    รายละเอียด

    อุปกรณ์ในการทำลูกประคบสมุนไพร ลูกละ 85 บาท x 100 ลูก เป็นเงิน 8,500 บาท

    • อุปกรณ์การทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    1. ผ้าดิบสำหรับห่อลูกประคบ ขนาด กว้าง 35 x ยาว 35 เซนติเมตร

    2. เชือก

    3. เหง้าไพล

    4. ผิวมะกรูด





    5. ตะไคร้

    6. ใบมะขาม

    7. ขมิ้นชัน

    8. ใบส้มป่อย

    9. เกลือแกง

    10. การบูร

    11. พิมเสน


      ป้ายไวนิลโครงการฯ

    • ป้ายไวนิลโครงการฯ จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 800 บา
    งบประมาณ 9,300.00 บาท
  • 3. ทดสอบก่อนหลังทำกิจกรรมอบรมโครงการลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
    รายละเอียด

    เอกสารทดสอบก่อนหลังทำกิจกรรม
    - คนละ 1 ชุดๆละ 2 บาท x 100 คน เป็นเงิน 200 บาท

    วิทยากรอบรมโครงการลูกประคบสมุนไพร่พื่อสุขภาพ

    • วิทยากรอบรมโครงการลูกประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ วันละ 3 ชม.ๆ 600 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
    งบประมาณ 3,800.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

วัดทรายทอง บ้านบากง ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,100.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการทำผลิตภัณฑ์ลูกประคบจากสมุนไพรอย่างถูกต้อง
  • ผู้สูงอายุสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์
  • สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและผลิตลูกประคบสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ รหัส กปท. L2511

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ รหัส กปท. L2511

อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,100.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................