กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ รหัส กปท. L7929

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
สูงวัยอุ่นใจด้วยสุขภาพจิตดี สุขภาพกายแข็งแรง
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองวิชาการ
กลุ่มคน
ผอ กองวิชาการ ทต ลำใหม่
3.
หลักการและเหตุผล

ความชราคือธรรมชาติของมนุษย์ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ แต่ในสังคมผู้สูงอายุมักจะถูกมองว่าเป็นคนแก่เลอะเลือน ทำอะไรไม่ค่อยได้ ความคิดอ่านโบราณ เหมือนเป็นดอกไม้ที่ใกล้โรยราเต็มที อย่างไรก็ตามหากดอกไม้ต้องการน้ำหล่อเลี้ยงฉันใด ผู้สูงอายุก็ต้องการการดูแลเอาใจใส่ฉันนั้น เนื่องจากเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งสุขภาพร่างกายเสื่อมลงและจิตใจแปรปรวน ปัญหาด้านสภาพจิตใจของผู้สูงอายุเกิดจากความรู้สึกสูญเสีย ทั้งคนใกล้ชิดอย่างบุตรหลานที่ค่อยๆ เติบโตแยกย้ายไปมีครอบครัว รวมถึงเพื่อนสนิทหรือคู่ชีวิตที่ล้มหายตายจากไป สูญเสียความสามารถการเป็นที่พึ่ง ภาวะผู้นำ การยอมรับจากผู้อื่น อีกทั้งโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สภาพสังคมแบบในอดีตเริ่มเลือนหายไป การแข่งขันสูงขึ้น จากครอบครัวใหญ่กลายเป็นครอบครัวเล็ก เป็นต้น ด้วยการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก ทำให้ผู้สูงอายุมีแนวโน้มจะกลับไปเป็นเหมือนเด็กที่ต้องการการพึ่งพาอาศัยจากผู้อื่น สัญญาณเตือนที่บ่งชี้ว่าผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพจิตอย่างใกล้ชิดมีดังนี้ 1.มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เกิดความรู้สึกเหงา ว้าเหว่ เบื่อหน่าย 2.ไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง ค่อยๆ แยกตัวออกมาจากสังคม 3.ไม่อยากทำอะไร 4.มีความเกี่ยวข้องกับโรคทางกาย เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง 5.ขาดกำลังใจ จากสัญญาณเตือนเหล่านี้ สามารถพัฒนาจนกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ ซึ่งปัจจุบันพบว่า 10-20% ของผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปีมีภาวะซึมเศร้าโดยเฉพาะผู้หญิง และยิ่งมีอายุมากความเสี่ยงก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้อัตราฆ่าตัวตายยังพบในผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่นๆ สะท้อนให้เห็นสภาพจิตใจที่ไม่มั่นคงของคนสูงวัย การดูแลผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากคนใกล้ชิด แน่นอนว่าไม่มีใครอยากเห็นผู้ใหญ่ที่เคารพรักต้องเผชิญกับภาวะซึมเศร้า ด้วยวัยที่ห่างกันอาจจะทำให้การสื่อสารแตกต่างกันบ้าง ลูกหลานควรพยายามปรับตัวเพื่อที่จะเข้าใจคนวัยนี้มากขึ้น สิ่งแรกที่แนะนำให้ทำคือทำให้พวกเขารู้สึกมีส่วนรวมกับครอบครัว โดยการใช้เวลาอยู่กับผู้สูงอายุพูดคุยและรับฟัง รวมถึงดูแลใส่ใจด้านสุขภาพ พาผู้สูงอายุในบ้านไปพบแพทย์ นอกจากการสนับสนุนภายในครอบครัวแล้ว สังคมภายนอกเองก็มีผลอย่างมาก ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่แต่ในบ้านมีแนวโน้มเกิด “ภาวะเนือยนิ่ง” คือมีความรู้สึกห่อเหี่ยว หดหู่ ดังนั้นการทำกิจกรรมต่างๆ ตามความสนใจจะสามารถช่วยเยียวยาจิตใจผู้สูงวัยได้มากทีเดียว กิจกรรมทางสังคมจะทำให้ผู้สูงอายุได้พบปะกับผู้อื่นในวัยใกล้เคียงกัน จึงไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ปรับตัวและยอมรับตัวเองได้ง่ายขึ้น สนับสนุนให้พวกเขามีความนับถือในตัวเอง ป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า แนวทางการจัดกิจกรรมสังคมควรจะมีความหลากหลายและสามารถแก้ปัญหาของผู้สูงอายุได้ เช่น ช่วยดูแลสุขภาพ ทำให้จิตใจสดชื่น มีความภูมิใจในชีวิต จัดการกับสภาวะอารมณ์ เป็นต้น อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติกำหนดและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด๒ การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะ ม.๑๖ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ แก้ไขเพิ่มฉบับที่ ๑๔ พ.ศ.๒๕๖๒ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวดที่5 หน้าที่ของรัฐ ม.55 ม.56 ม.58 ในการนี้ เทศบาลตำบลลำใหม่ ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลลำใหม่ ที่นับวันจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ข้อมูล ณ ปัจจุบัน วันที่ 7 มิถุนายน 2565 เทศบาลตำบลลำใหม่ มีจำนวนผู้สูงอายุที่รับเงินผู้สูงอายุจำนวน 133 คน เป็นผู้ป่วยติดเตียง จำนวน ...4...คน และผู้ป่วยติดบ้านจำนวน ....8..... คน เทศบาลตำบลลำใหม่ จึงได้จัดทำสูงวัยอุ่นใจด้วยสุขภาพจิตดี สุขภาพกายแข็งแรง ให้กับผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ ทั้งที่มีภาวะพึ่งพิง เป็นผู้ป่วยติดเตียง และเป็นผู้ป่วยติดบ้าน ที่มีอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลลำใหม่ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
    ขนาดปัญหา 55.00 เป้าหมาย 70.00
  • 2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 45.02 เป้าหมาย 90.00
  • 3. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
    ขนาดปัญหา 70.65 เป้าหมาย 25.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินโครงการ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
    รายละเอียด

    ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

    ค่าไวนิล 500 บาท

    งบประมาณ 500.00 บาท
  • 3. จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ดูแลและครอบครัวที่มีผู้สูงอายุอยู่ในความดูแล
    รายละเอียด

    จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ดูแลและครอบครัวที่มีผู้สูงอายุอยู่ในความดูแล

    -ค่าวิทยากร จำนวน 2 คนๆ ละ 2 ข.ม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 30 คน เป็นเงิน2,100 บาท -ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆ ละ 65บาทจำนวน 30 คน 1,950 บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรม เป็นเงิน 1,600บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงินจำนวน 8,050 บาท

    งบประมาณ 8,050.00 บาท
  • 4. ประเมินและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นก่อนและหลังการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    ประเมินและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นก่อนและหลังการดำเนินโครงการ

    งบประมาณ 500.00 บาท
  • 5. กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ เดือนที่ 1
    รายละเอียด

    กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ เดือนที่ 1
    กิจกรรมที่ 1 รู้เรื่องสุขภาพ กับผู้สูงอายุ
    อบรมเรื่อง “สูงวัยไม่ล้ม”

    กิจกรรมที่ 2 เมนูสุขภาพ

    กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทางกายในวัยผู้สูงอายุ

    งบประมาณ

    วิทยากร 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท รวม 1800 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆ ละ35 บาท เป็นเงิน 1050 บาท
    -ค่าวัสดุในการทำเมนูเพื่อสุขภาพ 1000 บาท
    เป็นเงิน 3850 บาท

    งบประมาณ 3,850.00 บาท
  • 6. กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ เดือนที่ 2
    รายละเอียด

    กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ เดือนที่ 2
    กิจกรรมที่ 1 รู้เรื่องสุขภาพ กับผู้สูงอายุ
    อบรมเรื่อง “ศาสตร์แพทย์แผนไทยกับวัยผู้สูงอายุ”

    กิจกรรมที่ 2 เมนูสุขภาพ

    กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทางกายในวัยผู้สูงอายุ


    งบประมาณ วิทยากร 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท รวม 1800 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆ ละ35 บาท เป็นเงิน 1050 บาท
    -ค่าวัสดุในการทำเมนูเพื่อสุขภาพ 1000 บาท
    เป็นเงิน 3850 บาท

    งบประมาณ 3,850.00 บาท
  • 7. กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ เดือนที่ 3
    รายละเอียด

    กิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่วัยผู้สูงอายุ เดือนที่ 3

    กิจกรรมที่ 1 รู้เรื่องสุขภาพ กับผู้สูงอายุ
    อบรมเรื่อง “สมุนไพรไทยกับการป้องกันโรค”

    กิจกรรมที่ 2 เมนูสุขภาพ

    กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทางกายในวัยผู้สูงอายุ

    งบประมาณ

    วิทยากร 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท รวม 1800 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คนๆ ละ35 บาท เป็นเงิน 1050 บาท
    -ค่าวัสดุในการทำเมนูเพื่อสุขภาพ 1000 บาท
    เป็นเงิน 3850 บาท

    งบประมาณ 3,850.00 บาท
  • 8. กิจกรรมผู้สูงอายุต้นแบบ มอบเกียรติบัตรพร้อมกรอบให้ผู้สูงอายุ
    รายละเอียด

    กิจกรรมผู้สูงอายุต้นแบบ มอบเกียรติบัตรพร้อมกรอบให้ผู้สูงอายุ
    เกียรติบัตรพร้อมกรอบ จำนวน 30 ชุดๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3000 บาท

    งบประมาณ 3,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 23 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ทต ลำใหม่

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 23,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้ดูแลและครอบครัวที่มีผู้สูงอายุอยู่ในความดูแลมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น 2.ผู้สูงอายุได้เข้ารับการตรวจสุขภาพร่างกายและประเมินสุขภาพจิตโดยทีมสหะวิชาชีพในเชิงรุกทั้งที่ป่วยติดเตียงติดบ้าน 3.มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูอายุและผู้ดูแลอย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง 4.ผู้สูงอายุได้รับการปัองกันและแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ได้อย่างถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ รหัส กปท. L7929

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ รหัส กปท. L7929

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 23,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................