กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห รหัส กปท. L7255

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการสุขภาพที่ดี วิถีไทย ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน
กลุ่มคน
1.นางสุวิมล ฮิ้วเส็ง

2. นางอุดมรัตน์ หมุนจินดา

3.นางกัญญาภัค พัธนันท์

4.นางอภิภัค ไชยถาวร

5. นางสาวศศิลักษณ์ โกมล
3.
หลักการและเหตุผล

การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าในยุคปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยมีการเปลี่ยนแปลงส่งผลให้โรคภัยไข้เจ็บต่างๆ มีเพิ่มมากขึ้น ทั้งโรคติดต่อและไม่ติดต่อ เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรู้ ใช้ชีวิตด้วยความประมาท ไม่รู้จักวิธีป้องกันโรค อีกทั้งมีการรับประทานอาหารสำเร็จรูปหรือที่เรียกว่าอาหาร “ฟาสฟู้ด” จากการใช้ชีวิตประจำวันเช่นนี้จะส่งผลให้เกิดโรคภัยต่างๆ เช่น ความดัน เบาหวาน มะเร็ง หัวใจกรดไหลย้อน ไขมันในเลือดสูง และอื่นๆ โรคเหล่านี้เป็นโรคที่เราสามารถป้องกันได้ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานอาหารให้ถูกวิธี ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งคนไทยในอดีตกินพืชเป็นหลักกินผักเป็นยา มีเวลาในการออกกำลังกายคู่กันไปและประเทศไทยนั้นมีพืชผักที่มีสรรพคุณเป็นสมุนไพรสามารถป้องกันและรักษาโรคภัยต่างๆได้ แต่คนไทยปัจจุบันไม่เห็นถึงความสำคัญในเรื่องดังกล่าว ซึ่ง"กลุ่มอาสาสายธารทิพย์ สู่ชุมชน"ได้ลงเยี่ยมผู้ป่วย และได้พบสาเหตุของการเกิดโรคไม่ติดต่อส่วนใหญ่มาจาก พฤติกรรม การกิน จึงจัดทำโครงการ “สุขภาพดี วิถีไทย สมุนไพรพื้นบ้าน”เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและใส่ใจดูแลสุขภาพแบบพึงพาตนเองซึ่งในปัจจุบัน สมุนไพรพื้นบ้านสามารถตอบโจทย์ในเรื่องสุขภาพได้ดีพอสมควร เช่น ว่านหางจระเข้มีประโยชน์ ในเรื่องของกรดไหลย้อน โรคกระเพาะ กระชาย มีคุณสมบัตในการต้านเชื้อไวรัสป้องกันการเกิดโรคได้มากมาย เป็นต้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนมีความรู้และเห็นคุณค่าของพืชสมุนไพรไทยและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ขนาดปัญหา 36.00 เป้าหมาย 46.00
  • 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด”
    ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนได้รับความรู้และตระหนักถึงอันตรายของอาหาร “ฟาสฟู้ด”
    ขนาดปัญหา 63.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. เพื่อให้ประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี แบบพึงพาตนเอง ตามวิถีไทย
    ขนาดปัญหา 62.00 เป้าหมาย 70.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    รายละเอียดงบประมาณ

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท

    -ค่าวัสดุสำนักงาน 2,000 บาท

    งบประมาณ 2,600.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สุขภาพดีวิถีไทยห่างไกลโรค

    -อาหารที่เหมาะสมกับวัย

    -การดูแลสุขภาพแบบพึ่งพาได้

    -รู้ทันโรค และการป้องกัน

    รายละเอียดงบประมาณ

    -เอกสารประเมินและตรวจคัดกรองเบื้องต้นก่อนอบรม 300 บาท

    -ค่าวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท

    -ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 3 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 3,600 บาท

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

    -ค่าไวนิลโครงการ 750 บาท

    -ค่าเช่าสถานที่พร้อมเครื่องเสียง 1,500 บาท

    งบประมาณ 17,550.00 บาท
  • 3. อบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
    รายละเอียด

    อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความรู้สมุนไพรในครัวเรือนไทย

    -สมุนไพรไทยท้องถิ่น

    -การนำสมุนไพรมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน

    รายละเอียดงบประมาณ

    -ค่าวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,800 บาท

    -ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 2 คนๆละ 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 30 บาท 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

    -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

    -กระถางต้นไม้ จำนวน 160 กระถางๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 6,400 บาท

    -ดินหมัก จำนวน 200 กระสอบๆละ 35 บาท รวมเป็นเงิน 7,000 บาท

    -ปุ๋ยคอก จำนวน 100 กระสอบๆละ 80 บาท รวมเป็นเงิน 8,000 บาท

    -ค่าเช่าสถานที่พร้อมเครื่องเสียง 1,500 บาท

    ค่าสมุนไพรในการสาธิตการปลูก

    -ต้นกะเพรา จำนวน 50 ต้นๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 2,000 บาท

    -ต้นว่านหางจระเข้ จำนวน 40 ต้นๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 1,600 บาท

    -ต้นขิง จำนวน 60 ต้นๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 3,600 บาท

    -ต้นโหรพา จำนวน 40 ต้นๆละ 40 บาท รวมเป็นเงิน 1,600 บาท

    -ต้นจักรนารายณ์ จำนวน 40 ต้นๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

    -ต้นกระชาย จำนวน 40 ต้นๆละ 60 บาท รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

    -ต้นผักเหลียง จำนวน 66 ต้นๆละ 100 บาท รวมเป็นเงิน 6,600 บาท

    งบประมาณ 56,900.00 บาท
  • 4. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการโดยการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย และสอบถามความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการ

    รายละเอียดงบประมาณ

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่ม จำนวน 20 คนๆละ 1 ครั้งๆละ 30 บาท เป็นเงิน 600 บาท

    ค่าเอกสารสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 80 ชุดๆละ 2 บาท เป็นเงิน 160 บาท

    งบประมาณ 760.00 บาท
  • 5. สรุปผลการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    รายละเอียดงบประมาณ

    -ค่าจัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินโครงการ จำนวน 2 เล่มๆละ 500 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 1,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลคลองแห

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 78,810.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ความเข้าใจ การดูแลสุขภาพของตัวเองได้อย่างเหมาะสม

2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้การใช้สมุนไพรได้อย่างเหมาะสม และถูกต้อง

3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห รหัส กปท. L7255

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห รหัส กปท. L7255

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 78,810.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................