กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ รหัส กปท. L8405

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรักเป็น ปลอดภัย ไม่ท้องก่อนวัย
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม
3.
หลักการและเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาเชิงสังคมที่มีความซับซ้อนและเกี่ยวกับหลายมิติ ทั้งในด้านสภาพสังคมที่ขาดการเลี้ยงดูเอาใจใส่จากพ่อแม่ การพัฒนาเข้ารู้วัยรุ่นที่เร็วขึ้น การความรู้ในเรื่องเพศวิถึศึกษาที่ครบถ้วนเพียงพอ การไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่เป็นมิตร ทัศนคติเชิงลบที่สังคมไทยมีต่อเรื่องเพศวิถีศึกษา การเข้าถึงสื่อต่าง ๆ ได้โดยไร้ขีดจำกัด และจากค่านิยมของวัยรุ่น ทำให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ขาดความยับยั้งชั่งใจ ขาดความรู้และการป้องกันอย่างเพียงพอและก่อให้เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในที่สุด
การพัฒนาทักษะชีวิตวัยรุ่นจะช่วยส่งเสริมวัยรุ่นให้รู้กการคิด วิเคราะห์ การปฏิเสธในสถานการณ์เสี่ยง รวมทั้งมีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ ซึ่งการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ ด้านพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการอบรมเพศวิถึศึกษาและทักษะชีวิตในวัยรุ่นจะเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ สามารถคิด ตัดสินใน แก้ปัญหาและปรับตัวเพื่อให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม ถูกต้อง สามารถจัดการกับความต้องการปัญหาและสถานการณ์ต่าง ๆ ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อประเมินความรอบรู้ด้านพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อสร้างความตระหนัก และมีความรู้เรื่องพัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มนักเรียนในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้แก่ โรคเอดส์ ในกลุ่มเป้าหมาย
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อเสริมสร้างทักษะการปฏิเสธพฤติกรรมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 5. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประชาสัมพันธ์ และช่วยเหลือกลุ่มวัยรุ่นที่มีปัญหาได้
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ขั้นเตรียมการ
    รายละเอียด
    1. ประชุมทีมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
    2. ประสานการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
    3. เขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนการดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่
    4. ประชุมทีมและเครือข่ายเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพด้านพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    รายละเอียด

    ดำเนินการคัดกรองนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข โรงเรียน หรืออาสาสมัครสาธารณสุข โดยใช้แบบประเมินความรู้ด้านพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของ สบส. และมศว. (2557) หรือสำนักอนามัยการเจริญพันธ์ุ กรมอนามัย (2564) ดังนี้
    1. ความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
    2. แบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สำหรับสตรีไทยวัยรุ่น อายุ 15-21 ปี ระดับมัธยมปลายและนักศึกษา
    - แปลผลการประเมินความรอบรู้ แยกกลุ่มนักเรียนตามผลการประเมิน
    - นำนักเรียนที่พบมีพฤติกรรมเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการส่งต่อให้คำปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ในสถานบริการสาธารณสุข
    - สรุปประเมินผลความรอบรู้ โดยมีการจำแนกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยมีการจัดช่วงคะแนนเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
    1) กลุ่มที่มีทักษะไม่พอเพียง คะแนนระหว่าง 0-59 คะแนน
    2) กลุ่มที่มีทักษะค่อนข้างต่ำ คะแนนระหว่าง 60-79 คะแนน
    3) กลุ่มที่มีทักษะเพียงพอ คะแนนระหว่าง 80-100 คะแนน
    เกณฑ์มาตรฐานจำแนกระดับคะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพในภาพรวมทั้ง 6 องค์ประกอบของความรอบรู้ด้านสุขภาพของ สบส. และ มศว. (2557) และรายงานผลต่อผู้บริหาร

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. การอบรมเพศวิถึศึกษาและทักษะชีวิตในวัยรุ่น
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมเรียนรู้เพศวิถึศึกษาโดยใช้แนวคิดทักษะชีวิตจะสามารถช่วยให้นักเรียนเข้าใจปัญหาและผลกระทบของการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สาเหตุของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร มีความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะการตัดสินใจและทักษะการแก้ปัญหาเรื่องเพศศึกษาเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้อย่างมีกระบวนการ และสามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรได้อย่างเหมาะสมตามช่วงวัย โดยมีตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดังนี้
    1. สถานการณ์ผลกระทบการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
    2. กิจกรรม "ก้าวสู่วัยรุ่น" (พัฒนาการทางเพศและสุขอนามัยวัยรุ่น)
    3. กิจกรรม "รู้แล้วจะเสียว" (โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
    4. กิจกรรม "รู้ทัน ป้องกันได้" (การคุมกำเนิด)
    5. กิจกรรม "หมวกกันน็อก" (ถุงยางอนามัย)
    6. กิจกรรม "เสี่ยง...ไม่เสี่ยง" (สถานการณ์เสี่ยง)
    7. กิจกรรม "แลกน้ำ" (เกมสาธิตการติดต่อโรคเอดส์)
    หรือศึกษาจากคู่มือการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิตในนักเรียนแบบบูรณาการ ซึ่งคู่มือฉบับนี้ได้บูรณาการเนื้อหาเรื่องเพศศึกษาและทักษะชีวิตเข้าด้วยกัน โดยคัดเลือกประเด็นที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแต่ละระดับชั้นที่ควรรู้ สามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    รายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
    - ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 200 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 10,000.- บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 200 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000.- บาท
    - ค่าตอบแทนวิทยาการบรรยาย จำนวน 2 คน คนละ 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400.- บาท
    - ค่าจ้างทำป้ายไวนิล จำนวน 1 ชิ้น ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร เป็นเงิน 1,500.- บาท
    - ค่ากระดาษสี ขนาด A4 จำนวน 5 รีม ๆ ละ 100.- บาทเป็นเงิน 500.- บาท
    - ค่าแฟ้มคลิปชาร์ต จำนวน 6 อัน ๆ ละ 100.- บาท เป็นเงิน 600.- บาท
    รวมเป็นเงิน 25,000.- บาท
    *หมายเหตุ ให้ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

    งบประมาณ 25,000.00 บาท
  • 4. ติดตาม และประเมินผล
    รายละเอียด
    1. การติดตาม ประเมินทักษะชีวิตและพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม 6 เดือน และ 1 ปี (โดยใช้แบบประเมิน KAP : ความรู้/ทัศนคติ การปฏิบัติในเรื่องเพศศึกษา และทักษะชีวิต)
    2. อัตราการคลอดในวัยรุ่นในพื้นที่ที่ดำเนินการ
    3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
    4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ และส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น อบต.ทุ่งใหญ่
    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 มกราคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนหาดใหญ่พิทยาคม ต.ทุ่งใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,000.00 บาท

หมายเหตุ : ให้ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้ตามรายจ่ายจริง

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียนมีความตระหนัก และมีความรู้เรื่องพัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  2. ลดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของกลุ่มเด็กนักเรียนในพื้นที่
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ รหัส กปท. L8405

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ รหัส กปท. L8405

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................