กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ รหัส กปท. L3355

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ
กลุ่มคน
1.นางกรุณาวิสโยภาส
2.นายเสริม ขวัญนุ้ย
3.นางนันทภรณ์รุยันต์
4.นางหนูพร้อมด้วงเอียด
5.นางสาวสิริรัตน์พรหมมินทร์
3.
หลักการและเหตุผล

เด็กปฐมวัยจะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโต เป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต แต่การที่เด็กจะดีหรือเป็นเด็กดีได้นั้นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการมีสุขภาพที่ดีทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตเพราะเมื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีหรือมีโรคภัยไข้เจ็บก็ไม่มีพลังที่จะพัฒนาตัวเองให้เป็นเด็กดีและเด็กเก่งได้เท่ากับผู้ที่มีสุขภาพที่ดี แต่ในปัจจะบันประเทศไทยอยู่ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่อย่างต่อเนื่อง ทำให้คนเราต้องดิ้นรนทำมาหาเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว จนไม่มีเวลาดูแลเด็กหรือบุตรด้วยตนเองซึ่งทำให้เกิดปัญหากับสุขภาพแก่เด็กการดูแลด้านสาธารณสุขสำหรับเด็กที่ควรได้รับ เช่นการส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก0-6 ปี การส่งเสริมเด็ก เพื่อให้เด็กมีสุขภาพดีในทุกด้าน จากผลการดำเนินงานตามโครงการหนูน้อยสุขภาพดี ในปีงบประมาณ 2565 ด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก พบว่าเด็กอายุ 0-5 ปีตำบลท่ามิหรำ ที่ต้องได้รับการตรวจพัฒนาการจำนวน 152 คน หลังจากการดำเนินการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ทาง รพ.สต. บ้านน้ำเลือด มีการตรวจติดตามพัฒนาการทุกเดือน ในเด็กที่มีอายุครบ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน พบเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยทันที 97 คน คิดเป็นร้อยละ 63.31 พบเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยทันที จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.67 ได้รับการรักษาที่ รพ .พัทลุง รักษาต่อเนื่อง เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น และพบเด็ก และพบเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 35.52หลังแนะนำการกระตุ้นพัฒนาการเด็กแก่ผุ้ปกครอง นัดมาตรวจพัฒนาการอีก 1 เดือน พบมีพัฒนาการสมวัยจำนวน54 คน ไม่พบมีพัฒนาการไม่สมวัย จะเห็นได้ว่าการส่งเสริมพัฒนาการในเด็ก มีความสำคัญมาก จำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัย จะได้รับการกระตุ้นและรักษาอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมเด็กที่มีพัฒนาการที่สมวัยให้มีพัฒนาการที่ปกติตามวัย ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เพื่อป้องกันโรคฟันผุเด็ก 0-6 ปี จำนวน 200 คน พบว่า มีฟันน้ำนมผุ จำนวน 63 คนติดเป็นร้อยละ 31.50มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็ก เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กมากขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ผู้ปกครองตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กมากขึ้นลดโรคฟันผุในเด็ก ด้านภาวะโภชณาการของเด็ก 0-6 ปีพบว่า มีน้ำหนักต่ำหว่าเกณฑ์ จำนวน 30 คน น้ำหนักเกินเกณฑ์ 10 คน หลังจากดำเนินโครงการ โดยจัดอบรมและจ่ายนม UHT พบว่าหลังจากเด็กได้ดื่มนมอย่างต่อเนื่อง มีเด็กที่น้ำหนักเพิ่มขึ้น เป็นน้ำหนักตามเกณฑ์จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 36.67 และ เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักปกติ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ดังนั้นการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กจึงต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ รพ.สต. บ้านน้ำเลือด กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่ามิหรำ และเทศบาลตำบลท่ามิหรำ เห็นว่าโครงการนี้ ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ปกครองต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในแต่ละด้านแต่ละช่วงวัยเพื่อให้สามารถค้นพบเด็กที่มีปัญหารายใหม่และให้ได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงทีและลดอัตราการเจ็บป่วยของเด็กปฐมวัย อันจะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพของประเทศชาติในอนาคต

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. การส่งเสริมพัฒนาการเด็กการดูแลสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี
    รายละเอียด
    1. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

    - เสริมทักษะและความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
      - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี จำนวน 100 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500  บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 600 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท -ฟื้นฟูทักษะและความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแก่ อสม.   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับ อสม. จำนวน 108 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 600 บาท x 2 ครั้งเป็นเงิน 3,600 บาท 2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เด็ก 0-6 ปี ให้ความรู้ผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก   - ให้ความรู้ผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก       - ค่าอาหารว่างสำหรับผู้ปกครองเด็ก 0-6 ปี จำนวน 200 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท       - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 600 บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท   - บริการป้ายฟันด้วยฟลูออไรด์วานิชแก่เด็ก 9 เดือน ถึง 6 ปี
          -ฟลูออไรด์วานิชเจล และพู่กันป้ายฟัน ได้รับการสนับสนุนจากงานทันตกรรม โรงพยาบาลพัทลุง 3. จัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-6 ปี
        -มอบอาหารเสริม แก่เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์         - ค่าอาหารเสริม (นมรสจืด UHT ขนาด 85 มล ) จำนวน 20 คน ๆ ละ 200 กล่อง ราคากล่องละ 5 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท 4. อสม.มีการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-6 ปี ทุก 3 เดือน เพื่อติดตามภาวะโภชนาการ         - เครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 10 เครื่อง ราคาเครื่องละ 900 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท

    งบประมาณ 53,600.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลท่ามิหรำ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 53,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการสมวัยและเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ 2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
  2. ลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กปฐมวัย 4.เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการที่ปกติ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ รหัส กปท. L3355

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ รหัส กปท. L3355

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 53,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................