กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน รหัส กปท. L4147

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาโงยซิแน
กลุ่มคน
1.นางนิเด๊าะ อิแตแล
2.อับดุลฮาเร็ม ซีระแม
3.นางอาซะ อาลี
4.นายแวมามุ ตาเฮ
5.นายนิเภายี หะยีอาลี
3.
หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ด้านสุขภาพหน่วยบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ตลอดจนในพื้นที่อำเภอยะหา พบว่ามีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ใน 5 ปี ย้อนหลัง พบสูงขึ้น และบางส่วนได้รับการประเมินผลไม่ทัน และสภาวะเหตุการณ์ด้านสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในด้านการจัดการส่งเสริมป้องกันอย่างทันท่วงที การดูแลส่งต่อรักษา การประเมินการเปลี่ยนแปลงของโรคเรื้อรัง ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสนใจ เพื่อใช้ลดความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานโดยมุ่งไปที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยง เนื่องจากมีผลการศึกษาพบว่า การควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคได้ องค์การอนามัยโลกได้เสนอแนวทางป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้ได้ผลโดยการแก้ไขปัญหาด้านปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายปัจจัยเสี่ยงไปพร้อมๆกัน และเน้นหนักในการป้องกันระดับปฐมภูมิ อีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายในการรักษาในระยะยาว จากผลงานการตรวจคัดกรองสุขภาพของตำบลบาโงยซิแนระหว่าง 01/10/2564ถึง 30/09/2565 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน (ไม่รวมกลุ่มป่วย) ร้อยละ 92.11ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง (ไม่รวมกลุ่มป่วย) ร้อยละ 90.09 พบกลุ่มปกติที่มีภาวะน้ำตาลจากสถานการณ์ด้านสุขภาพหน่วยบริการสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน ตลอดจนในพื้นที่อำเภอยะหา พบ มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ใน 5 ปี ย้อนหลัง พบสูงขึ้น และบางสวนได้รับการประเมินผลไม่ทัน และสภาวะเหตุการณ์ด้านสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในด้านการจัดการส่งเสริมป้องกันอย่างทันทวงที การดูแลส่งต่อรักษา ที่การประเมินการเปลี่ยนแปลงของโรคเรื้อรัง ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสนใจ เพื่อใช้ลดความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานโดยมุ่งไปที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงเนื่องจากมีผลการศึกษาพบว่าการควบคุมปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคได้องค์การอนามัยโลกได้เสนอแนวทางป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้ได้ผลโดยการแก้ไขปัญหาด้านปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหลายปัจจัยเสี่ยงไปพร้อมๆกัน และเน้นหนักในการป้องกันระดับปฐมภูมิ อีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายในการรักษาในระยะยาว การดำเนินการทำ Home BP 32 ราย การดำเนินการทำ SMBG 44 ราย ได้รับการปรับเปลี่ยน ภาวะสุขภาพ และส่งต่อการรักษากับหน่วยบริการในพื้นที่ ดังนั้น การได้รู้ข้อมูลสุขภาพของตนเอง จึงสามารถที่จะทำให้ประชาชนตระหนัก ในการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งจะให้ได้ผล และเกิดความยั่งยืนได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยพลังของประชาชนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพในชุมชนเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการจัดการเร็ว คัดกรองทัน ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2564 โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566 (กิจกรรมดังกล่าวดำเนินการได้ดีและต่อเนื่อง)

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
    ขนาดปัญหา 35.76 เป้าหมาย 29.00
  • 2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
    ขนาดปัญหา 30.21 เป้าหมาย 25.00
  • 3. โครงการรู้ภาวะสุขภาพ คัดกรองสะดวก ส่งเสริมการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2566
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงได้รับการประเมินติดตาม SMBP และ SMBG มากขึ้น
    ขนาดปัญหา 72.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1. จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อชี้แจงประชาสัมพันธ์ และจัดทำสื่อความรู้ไวนิล (ชนิดขาตั้ง)
    รายละเอียด

    จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อชี้แจงประชาสัมพันธ์และจัดทำสื่อความรู้ไวนิล (ชนิดขาตั้ง)
    ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือในการดําเนินงานและดำเนินการจัดซื้อชุดตรวจเบาหวาน
    จัดเตรียมเอกสาร แบบฟอร์มคัดกรอง และเตรียมความพร้อมก่อนดำเนินการ ร่วมกับคณะทำงาน
    กําหนดบทบาทและหน้าที่ของแต่ละบุคคล
    1 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แยกรับผิดชอบเป็นรายหมู่บ้านโดยมีบทบาทดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยงให้ความรู้ในหมู่บ้านที่รับผิดชอบ รวมถึงคัดกรองโรคเรื้อรัง
    2 คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีบทบาทในการออกเยี่ยมบ้านในกลุ่มป่วยและประเมินสภาพทั่วไป รวมถึงให้กำลังใจพร้อมกับทีมสุขภาพตำบล 3 พยาบาลวิชาชีพ มีบทบาทในการให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพในกลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน และกลุ่มเสี่ยงร่วมกับทีมสุขภาพตำบล
    4 พยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการฟื้นฟู ความด้านวิชาการ และการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงให้มีบทบาทในการให้ความรู้เรื่องยาในกลุ่มผู้ป่วย
    5 นักวิชาการสาธารณสุข มีบทบาทในการรวบรวมข้อมูล ปัญหาอุปสรรค เพื่อรายงานให้กับ หน่วยงานสาธารณสุขและชุมชนรับทราบ พร้อมทั้งวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข
    6 อาสาสมัครสาธารณสุข มีบทบาทในการออกเยี่ยมบ้านและตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ให้ความรู้ และชักจูงกลุ่มเป้าหมายร่วมกับทีมสุขภาพ
    ค่าใช้จ่าย - ค่าจัดทำสื่อความรู้ไวนิลพร้อมขาตั้ง 2 ชุดๆละ 1,500 บาท
    เป็นเงิน 3,000 บาท

    งบประมาณ 3,000.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    รายละเอียด

    1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจำนวน 1 วัน ดังนี้
    -จัดทำเนื้อหาหลักสูตร เน้น ความรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสมโดยใช้หลัก 3 อ. 2 ส. , ถอดบทเรียนและความรู้ในการตรวจประเมินคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
    -ประสานวิทยากร และหากลุ่มเป้าหมายในการอบรมจำนวน 50 คน
    -จัดเตรียมวัสดุการอบรม และเตรียมสถานที่
    -ให้การฝึกปฏิบัติ/ความรู้ การสาธิตประกอบอาหารเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายการอยู่กับโรคอย่างเหมาะสม และการฝึกจิตคลายเครียด

    ค่าใช้จ่าย
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท* 50 คน* 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500บาท
    - ค่าอาหารกลางวัน 70 บาท* 50 คน เป็นเงิน 3,500 บาท
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมง 600 บาท* 5 ชม. เป็นเงิน 3,000 บาท
    - ค่าวัสดุในการอบรม (เช่น กระเป๋า สมุด ดินสอ ปากกา กระดาษ เป็นต้น) เป็นเงิน 3,300 บาท รวม 12, 300 บาท

    งบประมาณ 12,300.00 บาท
  • 3. จัดบริการทีมสุขภาพออกตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร่วมกับติดตาม SMBP และ SMBG
    รายละเอียด

    1.ออกตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานประจำจุดต่างๆ ในตำบลบลโดยประสานให้เจ้าหน้าที่ออกร่วมด้วย
    2.ตรวจความดันที่บ้าน ในผู้ป่วย ต้องตรวจทุกวัน เป็นเวลา 7 วัน
    2.1 กิจกรรมย่อยจัดซื้อชุดตรวจเบาหวาน - ค่าจัดซื้อชุดแถบตรวจเบาหวาน จำนวน 24 กล่องๆละ 850 บาท เป็นเงิน 20,400 บาท
    2.2 กิจกรรมย่อย จัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต - เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 2 เครื่องๆ ละ 2,850 เป็นเงิน 5,700 บาท
    2.3 กิจกรรมย่อยเครื่องเจาะน้ำตาล ปลายนิ้วมือ - เครื่องวัดระดับน้ำตาลปลายนิ้วมือ 2 เครื่องๆ ละ 2,100 เป็นเงิน 4,200 บาท
    รวม 30,300 บาท

    งบประมาณ 30,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 45,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน รหัส กปท. L4147

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน รหัส กปท. L4147

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 45,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................