กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ รหัส กปท. L3355

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการอบรมความรู้เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในชุมชน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ
กลุ่มคน
1.นางกรุณาวิสโยภาส
2.นายเสริมขวัญนุ้ย
3.นางนันทภรณ์รุยันต์
4.นางหนูพร้อมด้วงเอียด
5.นางสาวสิริรัตน์พรหมมินทร์
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสาธารณสุขของประเทศไทย ต้องพบเจอกับปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลมาหลายทศวรรษซึ่งก่อให้เกิดผลเสียต่อตัวผู้ป่วยและก่อให้เกิดปัญหาต่อประเทศชาติ เนื่องด้วยการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลนั้นอาจนำไปสู่ความล้มเหล้วทางด้านการรักษาหรืออาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากตัวยาที่ใช้กับผู้ป่วย เช่นการเกิดเชื้อดื้อยาที่เพิ่มสูงขึ้นในผู้ป่วยและปัญหาต่อประเทศชาติ เช่น การสูญเสียเงินงบประมาณของประเทศชาติจากการใช้ยาเกินความจำเป็น ซึ่งสำหรับประเทศไทย พบว่า มูลค่าการบริโภคยาของคนไทยสูงขึ้นถึง 1.4 แสนล้านบาท โดยในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยที่ใช้ยาเกินความจำเป็นถึง 2,370 ล้านบาท และกลุ่มการใช้ยาอย่างมีข้อสงสัยต่อประสิทธิภาพอีก 4,000 ล้านบาท อีกทั้งจากการสำรวจยังพบว่าปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลนั้นเกิดขึ้นในทุกระดับหน่วยการให้บริการ ตั้งแต่ระดับสถานพยาบาลจนถึงระดับชุมชน และจากองค์การอนามัยโลกได้ระบุว่า ทั่วโลกมีการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลมากกว่าร้อยละ 50 ของการใช้ยา โดยปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลนั้นอาจเกิดได้จากทั้งผู้ให้บริการในการจ่ายยาและจากความคาดหวังที่จะได้รับยาปฏิชีวนะโดยตรงจากตัวผู้ป่วยเอง เนื่องจากผู้รับบริการอาจมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาปฏิชีวนะไม่เพียงพอ เช่น ผุ้รับบริการเข้าใจว่ายาปฏิชีวนะมีความจำเป็นต่อการรักษาความเจ็บป่วยเกิดความรวดเร็วในการทุเลาของอาการ หรือแม่แต่ประสบการณ์เคยได้รับยาปฏิชีวนะจากอาการที่คล้ายกันจากครั้งก่อนๆ ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีการกำหนดและดำเนินการยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ว่าด้วยยุทธศาสตร์การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล โดยระบุในยุทธศาสตร์ว่า การใช้ยาโดยแพทย์ บุคลากรทางด้านสาธารณสุขและประชาชนจะต้องเป็นไปอย่างเหมาะสม ถูกต้องและคุ้มค่า เพื่อลดปัญหาการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล ตามคำจำกัดความขององค์การอนามัยโลกที่ว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational drug use : RDU)คือ ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมและมีค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด จากปัญหาข้างต้นนี้ ได้มีการส่งผลกระทบโดยทั่วเกี่ยวกับการบริหารการจ่ายยาในผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการด้วยอาการเจ็บป่วยต่างๆ อีกทั้งยังมีพื้นฐานการเจ็บป่วยและโรคประจำตัวที่หลากหลายในหน่วยบริการซึ่งได้รวมถึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในแต่ละพื้นที่ ความสำคัญและติดตามอัตราการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลอย่างต่อเนื่องพบว่า จากรายงานการจ่ายยาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขตอำเภอเมืองพัทลุง ในปีงบประมาณ 2565 พบว่ามีการใช้ยาปฏิชีวะนะในกลุ่มโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก สูงเป็นอันดับ 4ของอำเภอเมืองพัทลุง จาก 24 แห่ง และมีการเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือกยาสมุนไพรสูงเพียงร้อยละ 12.34 คิดเป็นร้อยละ12.34คิดเป็นอันดับที่ 20 จาก 24 แห่ง และมีการเลือกใช้บริการของอำเภอเมืองพัทลุง ซึ่งในปัจจุบันได้มีการรณรงค์สนับสนุนให้มีการใช้ยาสมุนไพรในหน่วยบริการเพิ่มมากขึ้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นแล้วการจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยแต่ละรายย่อมต้องคำนึงถึงหลักการใช้ยาให้สมเหตุผลตามหลักการจ่ายยาที่ว่า ถูกคน ถูกโรค ถูกขนาด ถูกวิธี และถูกเวลา นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังมีผู้ป่วยอีกจำนวนมากที่ซื้อยามารับประทานเอง จากการคาดการณ์อาการการเจ็บด้วยตัวเองหรืออาการที่คล้ายจากการเจ็บป่วยครั้งก่อนๆทั้งจากร้านขายยาหรือร้านค้าที่ไม่ได้ผ่านการตรวจรักษาอย่างเหมาะสมจากบุคลากรทางการแพทย์ ดังนั้น จากปัญหาข้างต้นทาง อสม.ต.ท่ามิหรำ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด เทศบาลตำบลท่ามิหรำ และกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่ามิหรำ จึงเห็นความสำคํญของการให้ความรู้เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนเพื่อสร้างองค์ความรู้ ความตระหนักและความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างเหมาะสมในประชาชนอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้แพทย์ทางเลือก ยาสมุนไพร การดูแลสุขภาพของตัวเองอย่างถูกต้องเหมาะสม และลดการซื้อยารับประทานเองอย่างไม่เหมาะสม เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีให้แก่ประชาชนในชุมชน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพิ่มมากขึ้น
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนสามารถเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือก ยาสมุนไพรได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีการเลือกใช้บริการแพทย์ทางเลือกยาสมุนไพรได้อย่างถูกต้องเพิ่มมากขึ้น
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีแนวทางการดูแลสุขภาพของตนเองและจากการเจ็บป่วยพื้นฐานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนมีแนวทางการดูแลสุขภาพของตนเองและจากการเจ็บป่วยพื้นฐานได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเพิ่ม
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 4. เพื่อลดอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผลแก่ประชาชนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผลลดลง
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 5. เพื่อป้องกันการเกิดเชื้้อดื้อยาแก่ประชาชนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ไม่มีการเกิดเชื้อดื้อยาแก่ประชาชนในชุมชน
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในชุมชน
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมโครงการอบรมความรู้เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในชุมชนจำนวน 200 คน     - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x 600 บาท x 4 ครั้ง เป็นเงิน 7,200 บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 200 คน ๆละ 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท 2.ให้ความรู้ผ่านเสียงตามสายในหมู่บ้านอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง และจัดทำเอกสารความรู้การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในชุมชน     - จัดทำเอกสารแผนพับ จำนวน 4,000  หน้า ราคาหน้าละ 0.50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

    งบประมาณ 14,200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลท่ามิหรำ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 14,200.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ รหัส กปท. L3355

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ รหัส กปท. L3355

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 14,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................