กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงลาย หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านนาแค

1. นายปรีชาพรหมเมศว์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านนาแค เบอร์โทรศัพท์ 084-9981239
2. นายทวีชูแก้วผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านนาแค เบอร์โทรศัพท์ 063-9981239
3. นางสาววรพรรณรักนุ้ย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านนาแค เบอร์โทรศัพท์ 089-3179374
4. นางสาวอรศิริพรหมเมศวร์กรรมการหมู่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 095-9594623
5. นางปราณีไชยรักษ์ กรรมการหมู่บ้าน เบอร์โทรศัพท์ 089-5975545

หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนสามารถปรับปรุงสภาพแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

 

50.00
2 แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือน ให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐) และไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O) ในพื้นที่สาธารณะ

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และสามารถปรับปรุงสภาพแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับปรุงสภาพแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้

50.00 80.00
2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค

ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือน ให้มี จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐) และไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O) ในพื้นที่สาธารณะ

18.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ควบคุมการระบาด และทำความสะอาดในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ควบคุมการระบาด และทำความสะอาดในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ
  2. ประชุมวางแผน กำหนดพื้นที่เป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ    - แต่งตั้งผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ    - ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชุมชี้แจงแนวทางการควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะและการจัดการขยะในครัวเรือน และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในพื้นที่สาธารณะให้หมู่บ้าน
  4. กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ควบคุมการระบาด และทำความสะอาดในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค จำนวน 4 ครั้ง ในพื้นที่ต่อไปนี้
    ครั้งที่ 1 โซนท่าเรือ
    ครั้งที่ 2 โซนสี่แยกศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 5 บ้านนาแค
    ครั้งที่ 3 โซนหลัง รพ.สต.คลองขุด
    ครั้งที่ 4 โซนหน้าเขา
    เพื่อตรวจประเมินบ้านจัดการขยะทุกเดือน และประชุมรายงานการจัดการขยะและสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลายและการจัดการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
    5.ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับปรุงสภาพแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือน ให้มี จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐) และไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O) ในพื้นที่สาธารณะ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวจ่ายกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. อัตราการเกิดโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะลดลง
๒. สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือน และในพื้นที่สาธารณะ


>