กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รหัส กปท. L4163

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
ส่งเสริมทันตสุขภาพง่ายๆด้วยสองมือ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
งานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมัง
กลุ่มคน
นางสาวซูไรนีกาโน
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกันและปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้น นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็ก นักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายนอกจากอุปนิสัยของเด็กที่ชอบรับประทานของหวานตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคในช่องปากได้ง่ายหากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอ โรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพหากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค จะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้และด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้เด็กในยุคนี้เป็นเด็กที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหารเด็กส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่นขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่างๆ การที่เด็กทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้เด็กมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงวัยเรียนเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้เด็กรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจหรือการกระทำร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งแรงจูงใจนั้นมีความเกี่ยวเนื่องกับสิ่งแวดล้อม มาตรการของครูในโรงเรียนร่วมด้วย จากการสำรวจ สังเกต สอบถาม คุณครูและเด็กนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่า เด็กนักเรียนไม่มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน บางโรงเรียนไม่มีสถานที่ที่ใช้ในการแปรงฟันของเด็กนักเรียน ตลอดจนไม่มีมาตรการในโรงเรียนเรื่องการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และยังพบว่ามีการจำหน่ายไอศกรีม อาหาร ที่ส่งผลโรคฟันผุในโรงเรียน นอกจากนี้จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนตามระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา ตั้งแต่ปี 2563 ถึง 2565 พบว่าเด็กอายุ 6-12 ปี จำนวนทั้งหมด 791 คนมีฟันแท้ผุเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 33.75 35.67 และ 52.23 ตามลำดับ งานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมังได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากง่ายๆ ด้วยสองมือ ปีงบประมาณ 2566 มีวัตถุประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างจริงจังตามบริบทและวิถีการดําเนินชีวิตในพื้นที่ และเพื่อให้เด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กสามารถแปรงฟันอย่างถูกวิธี ตลอดจนปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในด้านสุขภาพช่องปาก

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. กิจกรรมที่1. เพื่อให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index) ลดลงกิจกรรมที่2.เพื่อสร้างความตระหนักและเพิ่มศักยภาพให้แก่แกนนำนักเรียนทั้งด้านความรู้ทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องกิจกรรมที่3.เพื่อค้นหาหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี สามารถเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพช่องปาก ตามเกณฑ์ในระดับอำเภอ
    ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่1.เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โรงเรียนบ้านเจาะบือแมมีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์ (Plaque index) ลดลงร้อยละ 80 กิจกรรมที่2.แกนนำนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถเป็นต้นแบบเด็กสุขภาพฟันดีและมีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกต้องร้อยละ 60 กิจกรรมที่3.ตัวแทนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 6 แต่ละที่เข้าร่วมการอบรมและประกวดหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี ตามเกณฑ์ในระดับอำเภอ ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในกลุ่มเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 โรงเรียนบ้านเจาะบือแมเพื่อให้มีทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตลอดจนมีระดับค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์(Plaque index) ลดลง
    รายละเอียด

    กิจกรรม จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องและฝึกปฏิบัติทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีพร้อมกับย้อมเม็ดสีเพื่อตรวจค่าดัชนีคราบจุลินทรีย์ก่อนและหลังการแปรงฟัน 1.1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและวิทยากร
    (จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ) เป็นเงิน 3,600 บาท 1.2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและวิทยากร (จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ)เป็นเงิน 3,600 บาท 1.3. ค่าวิทยากร
    ( จำนวน 6 ชม.X 600 บาท X 1 วัน ) เป็นเงิน 3,600 บาท รวมเป็นเงิน10 ,800 บาท

    งบประมาณ 10,800.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2. อบรมแกนนำนักเรียนในเด็กประถมศึกษาปีที่ 4 – 5โรงเรียนในเขตตำบลบือมัง
    รายละเอียด

    กิจกรรม จัดอบรมการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากโดยคัดเลือกแกนนำนักเรียนในเด็กประถมศึกษาปีที่ 4 - 5 ห้องละ 7 คน โรงเรียนในเขตตำบลบือมัง
    2.1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและวิทยากร
    (จำนวน 60 คน x 60 บาท x 1 มื้อ) เป็นเงิน 3,600 บาท 2.2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและวิทยากร (จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ)เป็นเงิน 3,600 บาท 2.3. ค่าวิทยากร
    (จำนวน 6 ชม.X 600 บาท X 1 วัน ) เป็นเงิน 3,600 บาท รวมเป็นเงิน 10,800 บาท

    งบประมาณ 10,800.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ 3. อบรมเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในเขตตำบลบือมังและจัดประกวดหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่3 จัดอบรมเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คัดเลือกห้องละ 12คน ต่อโรงเรียน และส่งตัวแทน โรงละ 2 คนเพื่อเข้าประกวดหนูน้อยฟันสวย 3.1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและวิทยากร
    (จำนวน 50 คน x 60 บาท x 1 มื้อ) เป็นเงิน 3,000 บาท 3.2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรมและวิทยากร (จำนวน 50 คน x 30 บาท x 2 มื้อ) เป็นเงิน 3,000 บาท 3.3. ค่าวิทยากร (จำนวน 6 ชม.X 600 บาท X 1 วัน )เป็นเงิน 3,600 บาท

    รวมเป็นเงิน 9,600 บาท

    งบประมาณ 9,600.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบือมัง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 31,200.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เพื่อให้เด็กนักเรียนโรงเรียนในเขตตำบลบือมังมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 2.เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเป็นต้นแบบนักเรียนสุขภาพฟันดี แก่น้อง ๆ ในโรงเรียน 3.อัตราการเกิดฟันผุในฟันแท้ลดลง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รหัส กปท. L4163

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือมัง รหัส กปท. L4163

อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 31,200.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................