กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชุมชนสุขภาพดี ปลอดขยะ ลดโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล

เทศบาลตำบลลำไพล อำเภอเทพาจังหวัดสงขลา

1. นายวัชรินทร์จิตตกุลเสนา
2. นายวิชาญบัวแดง
3. นางสาวชนาภัทรสิงห์หนู
4. นายไพศาลโยมมาก
5. นางสาวสุวิมลบุญเกิด

หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 13 ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลำไพลอำเภอเทพาจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้ง ทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ

 

20.00
2 น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้น เมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียไหลลงสู่แม่น้ำพ ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ

 

20.00
3 แหล่งพาหะนำโรคจากมูลฝอยตกค้างบนพื้น จะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์นำโรค เช่น หนู แมลงวัน สามารถส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

 

20.00
4 เหตุรำคาญและความไม่น่าดูจากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมด ส่งผลให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน การไม่แยกประเภทของขยะ เป็นสาเหตุซึ่งทำให้เกิดภาวะโลกร้อน

 

40.00

จำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง (ครัวเรือน)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาความสะอาด สร้างจิตสำนึกในการดูแลสุขภาพให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ทั้ง 13 หมู่บ้าน ของเขตเทศบาลตำบลลำไพล

 

0.00 100.00
2 เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้กับทุกหมู่บ้าน เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

 

100.00
3 เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชน เป็นหมู่บ้านน่าอยู่

 

50.00
4 สามารถลดปริมาณขยะที่ต้องนำส่งไปกำจัดลง และขยายผลในการร่วมกันจัดการปัญหาขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร

 

30.00
5 เพื่อรณรงค์ ขับเคลื่อนการคัดแยกขยะอินทรีย์ เป็นแหล่งเรียนรู้ พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรค อย่างถูกต้องให้กับแกนำของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนในพื้นที่

 

20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
แกนนำหมู่บ้าน อสม. อถล. หมู่บ้านละ 5 คน 65

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพครอบครัว การจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน และการนำขยะไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์ ให้มีประโยชน์ในครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคอย่างถูกวิธี ให้กับแกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนในพื้น

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์ ให้มีประโยชน์ในครัวเรือน โดยการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน พร้อมสาธิตวิธีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคอย่างถูกวิธี ให้กับแกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนในพื้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ให้ความรู้ในการจัดการขยะอย่างครบวงจร การนำหลัก 3Rs มาช่วยในการคัดแยกขยะ รวมไปถึงการคัดแยกขยะอินทรีย์ออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป โดยการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคอย่างถูกต้องให้กับแกนนำชมชน อสม. อถล. และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 70 คน
  2. สาธิตการคัดแยกขยะอิทรีย์ในครัวเรือน พร้อมจัดทำถังขยะเปียกลดโรค เพื่อให้เกิดครัวเรือนต้นแบบ ร้อยละ 85 จำนวน 4,598 ใบ ใบละ 55 บาท เป็นเงิน 252,890 บาท
  3. จัดจ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 1 ป้าย ขนาด 1.2 * 2.4 เมตร เป็นเงิน 288 บาท
  4. จัดซื้ออาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 70 ชุด ชุดละ 50 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
  5. จัดซื้ออาหารว่างและเครื่องดื่ม 70 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
  6. ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย จำนวน 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
  7. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เป็นเงิน 4,172 บาท รวมเป็นงิน 265,000 บาท หมายเหตุ : ทุกโครงการสามารถถัวเฉลี่ยได้
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
265000.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมการแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน (การทำน้ำหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)

ชื่อกิจกรรม
อบรมการแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน (การทำน้ำหมักชีวภาพ และการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 265,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้ตามความเหมาะสม

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลำไพลมีความรู้ และให้ความสำคัญในการจัดการขยะอินทรีย์ตั้งแต่ต้นทาง โดยการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคในระดับครัวเรือน
2. ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) รวมถึงประชาชนที่เข้าร่วมอบรมในโครงการ สามารถขยายผลการจัดทำถังขยะเปียกไปสู่ประชาชนในพื้นที่
3. จำนวนครัวเรือนในเขตพื้นที่เทศบาลตำลลำไพลมีพฤติกรรมคัดแยกขยะอินทรีย์อย่างถูกต้อง โดยมีการจัดทำถังขยะเปียกลดโรคในครัวเรือน ร้อยละ 85


>